Page 56 - ภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา
P. 56
1-46 ภาษาอังกฤษสำ�หรับครสู อนภาษา
อีกประการหนึ่งคนส่วนมากคิดกันว่าภาษากับวิทยาศาสตร์เป็นส่ิงท่ีไปด้วยกันไม่ได้ ถ้าเราย้อนคิด
ไปถงึ การเรยี นภาษาของเราตงั้ แตเ่ ดก็ ๆ หรอื สงั เกตเดก็ เลก็ ๆ หดั พดู เราจะเหน็ วา่ เดก็ เลก็ ๆ มคี วาม
สามารถใชว้ ธิ กี ารของนักวิทยาศาสตรไ์ ด้อย่างดเี ยีย่ ม กล่าวคอื เด็กได้ยนิ ได้ฟงั ภาษารอบๆ ตัว และ
สามารถท่ีจะสรุปกฎเกณฑ์จากข้อมูลท่ีได้ยินได้ฟัง ถ้าเด็กเรียนภาษาโดยการจดจ�ำสิ่งที่ผู้ใหญ่พูด
และเลียนค�ำพูดเหล่าน้ันเพียงอย่างเดียวแล้ว เราคงได้ยินเด็กเล็กๆ พูดเหมือนผู้ใหญ่ทุกอย่าง แต่
ความจริงหาได้เป็นเช่นนั้นไม่ ในภาษาอังกฤษเมื่อเด็กใช้กริยารูป past tense ของ catch เป็น
catched ซึ่งเป็นรูปที่เด็กจะไม่ได้ยินจากผู้ใหญ่เลย แต่เป็นรูปกริยาที่เกิดจากการเทียบเคียงกับค�ำ
กรยิ าส่วนมากทเี่ ด็กไดย้ ินไดฟ้ งั เชน่ play / played, walk / walked และ jump / jumped หรอื
ใช้รูปพหูพจน์ของ mouse วา่ mouses เพราะเทยี บเคยี งกับรูป house / houses แสดงวา่ เด็กได้
สรุปกฎเกณฑ์จากข้อมูลต่างๆ ที่เด็กได้ยินได้ฟัง และน�ำกฎน้ีไปใช้กับค�ำอื่นๆ เมื่อเด็กพบว่ามีข้อ
ยกเว้นก็จะแก้ไขกฎนั้น และในท่ีสุดระบบภาษาของเด็กจะค่อยๆ ใกล้เคียงกับของผู้ใหญ่ งานของ
นักภาษาศาสตร์หรือนักไวยากรณ์คือค้นหาและระบุออกมาอย่างชัดเจนในสิ่งท่ีเจ้าของภาษาทุกคน
ไดม้ าโดยไม่ร้ตู วั
เมื่อการศึกษาภาษาตามแนววิทยาศาสตร์ คือการศึกษาข้อมูลซ่ึงได้แก่ส่ิงที่เราได้ยินได้ฟัง
รอบตวั เรา และวเิ คราะหว์ า่ ระบบเปน็ อยา่ งไร โดยหลกั การแลว้ ไมน่ า่ จะเปน็ เรอื่ งยาก แตท่ ฤษฎเี รอ่ื ง
ภาษานน้ั มอี ยหู่ ลายทฤษฎี การวเิ คราะหภ์ าษากแ็ ตกตา่ งกนั ไปแลว้ แตจ่ ะใชท้ ฤษฎใี ด อนั ทจี่ รงิ ขอ้ มลู
ที่ใช้ไมม่ คี วามแตกต่างกันนัก เพราะได้แกภ่ าษาทใ่ี ช้กนั อยู่ และระบบของภาษาเป็นสง่ิ ที่ทุกคนร้อู ยู่
แลว้ แต่การแจกแจงความร้นู ี้ออกมาอยา่ งละเอียดและมรี ะบบนนั้ ไมใ่ ชเ่ รือ่ งงา่ ย เพราะแต่ละทฤษฎี
มีสมมติฐานและวธิ กี ารแตกต่างกนั ไป และศัพทเ์ ฉพาะที่ใชม้ กั จะไมต่ รงกนั เช่น noun phrase หรือ
นามวลี ในไวยากรณ์ด้ังเดิมจะหมายถึงกลุ่มค�ำท่ีมีนามเป็นองค์ประกอบและท�ำหน้าที่ต่างๆ ใน
ประโยคได้เช่นเดยี วกับนาม ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากตัวอยา่ งตอ่ ไปน้ี
The little girl looks happy.
The father bought a small puppy for his little girl.
ขอ้ ความทพี่ มิ พต์ วั เอนเปน็ noun phrases ทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ ประธานและกรรมเชน่ เดยี วกบั นาม
แตใ่ นบางทฤษฎี noun phrase อาจจะเปน็ คำ� เพยี งคำ� เดยี ว หลายคำ� หรอื กลมุ่ คำ� ทม่ี ปี ระโยค
ซ้อนเขา้ มาก็ได้ ทง้ั นี้เพราะในทฤษฎนี ี้ noun phrase คือองคป์ ระกอบส่วนหนง่ึ ของประโยค เชน่
Jack has arrived.
The boy has arrived.
The boy who works for you has arrived.
คำ� ทพี่ มิ พ์ตัวเอนในแตล่ ะประโยคเป็น noun phrases ท้ังนั้น
ในการศึกษาภาษา ปัญหามักจะเกิดขึ้น เพราะการเรียกของอย่างเดียวกันด้วยช่ือต่างกัน
หรอื ใชช้ อ่ื เดยี วกนั เรยี กของตา่ งกนั ไป ปญั หานเ้ี ปน็ ปญั หาทน่ี กั วทิ ยาศาสตรส์ าขาอนื่ ไมค่ อ่ ยมี เพราะ