Page 57 - ภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา
P. 57

ลักษณะท่ัวไปของภาษา 1-47
นกั วทิ ยาศาสตรเ์ หลา่ นนั้ ใชภ้ าษาซง่ึ เปน็ สญั ลกั ษณอ์ ธบิ ายปรากฏการณแ์ ละสรรพสงิ่ ในโลก ถงึ แมจ้ ะ
เรียกชื่อต่างกันไปยังพอเทียบเคียงกันได้ เพราะมีส่ิงต่างๆ ที่จะโยงกับสัญลักษณ์เหล่านั้น แต่
นักภาษาอธบิ ายภาษาซึง่ เป็นสัญลกั ษณแ์ ละเป็นส่งิ ท่ีทุกคนรูจ้ กั ดีดว้ ยภาษาซงึ่ กเ็ ปน็ สัญลกั ษณด์ ว้ ย
จงึ เปน็ การยากทจี่ ะเขา้ ใจศพั ทต์ า่ งๆ ตรงกนั แตค่ ำ� ศพั ทเ์ หลา่ นเ้ี ปน็ คำ� ทหี่ ลกี เลย่ี งไมไ่ ด้ ถา้ เราจะพดู
เรื่องภาษาอยา่ งมหี ลกั เกณฑ์ การศึกษาค�ำนยิ ามของศัพทท์ ใี่ ช้ในทฤษฎีตา่ งๆ จึงเปน็ ส่งิ จ�ำเปน็

      การศึกษาภาษาท�ำได้หลายแนว แล้วแต่ความสนใจและจุดม่งหมายของผู้ศึกษา กล่าวคือ
เราอาจศึกษาภาษาในแง่ประวัติความเป็นมาและความเปลี่ยนแปลงในสมัยต่างๆ หรือศึกษาภาษา
ตามที่ใช้กันในสมัยหนึ่งว่าระบบเป็นอย่างไร หน่วยท่ีเล็กท่ีสุดคือเสียงประกอบกันเป็นหน่วยที่มี
ความหมายไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง และสอื่ ความหมายอยา่ งไร นอกจากนนั้ ยงั อาจศกึ ษาเปรยี บเทยี บภาษา
ตา่ งๆ เพือ่ ประโยชนใ์ นการเรียนการสอนภาษาน้ันๆ หรือศกึ ษาภาษาในแง่ท่เี กี่ยวขอ้ งกับสาขาวิชา
อนื่ เช่น จติ วิทยา สงั คมศาสตร์ เป็นต้น

      เนื่องด้วยภาษามีความส�ำคัญในการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ การศึกษาภาษาตามแนว
วิทยาศาสตร์มิได้เกินสติปัญญาของคนทั่วไปเลย เน่ืองด้วยข้อมูลต่างๆ หาได้ง่าย คืออยู่ในผู้คนท่ี
อยู่ในสังคมของเราเอง อีกท้ังเคร่ืองมือที่จะใช้วิเคราะห์ข้อมูลเบ้ืองต้นก็อยู่ในตัวเราอยู่แล้ว หากเรา
พิจารณาปรากฏการณ์ในสังคมของเราจะเห็นได้ว่ามนุษย์มีความสามารถในการวิเคราะห์ระบบของ
ภาษาของผู้คนที่อยู่รอบตัว ทุกคนแม้แต่เด็กเล็กๆ ก่อนท่ีจะเข้าโรงเรียนก็มีความสามารถใช้ภาษา
ในการสอ่ื สารไดด้ ใี นระดบั หนง่ึ กลา่ วคอื สามารถตอบคำ� ถามเกย่ี วกบั ตนเอง เชน่ ชอ่ื อะไร อายเุ ทา่ ไร
มีพีน่ ้องก่คี น ท�ำตามคำ� ส่งั งา่ ยๆ พูดคยุ และเลน่ กับเพอ่ื นๆ ในวัยเดียวกนั

      การศึกษาภาษาเบื้องต้นไม่ต้องใช้เครื่องมืออะไรมากนัก นอกจากสังเกตส่ิงท่ีเกิดข้ึนเม่ือ
ล�ำลมออกมาจากปอดขณะหายใจออก ลมจะขึ้นไปตามท่อลมจนถึงกล่องเสียงท่ีมีเส้นเสียงก้ันอยู่
หากเป็นการหายใจออกตามปกติ เสน้ เสียงจะเปดิ ลมจะผ่านขนึ้ มาถึงช่องปากและออกมาทางปาก
หรอื จมกู ถ้าเอามอื ป้องปากจะรสู้ กึ ว่ามไี ออุ่นๆ ปะทะทีม่ อื ในการหายใจตามปกติอวัยวะตา่ งๆ ใน
ช่องปากจะไมเ่ คลอื่ นไหว ไม่มีการปรบั เปล่ยี นขนาดของชอ่ งปาก ในชอ่ งปากจะมีอวยั วะท่ใี ช้ในการ
ออกเสยี ง อวยั วะทเี่ คลอื่ นไหวคล่องตวั ทีส่ ดุ คือลิน้ สว่ นหนา้ (รวมท้งั สว่ นปลายสดุ ) ส่วนกลาง และ
สว่ นหลงั กส็ ามารถขยบั ได้ เราอาจใชป้ ลายลนิ้ แตะทฟ่ี นั ทปี่ มุ่ เหงอื ก ขยบั สว่ นกลางของลน้ิ ขนึ้ ไปใกล้
เพดานแขง็ ยกโคนลนิ้ ขึน้ ไปใกล้เพดานออ่ น ลองขยบั ลน้ิ ไปยังส่วนต่างๆ ที่กล่าวไว้ ขอใหส้ ังเกตว่า
ล้ินเปน็ ส่วนท่ีขยับ ส่วนปุ่มเหงือกและเพดานเปน็ ส่วนทไี่ ม่ขยับ

      ต่อไปนี้ทดลองออกเสียงสระ เสียงประเภทน้ีเกิดจากเส้นเสียงสั่นสะเทือน โดยไม่มีการปิด
หรอื ทำ� ใหข้ นาดของชอ่ งปากเปลย่ี นแปลงแตอ่ ยา่ งใด เมอื่ ขยบั ลนิ้ ไปมาไดค้ ลอ่ งแลว้ อา้ ปากออกเสยี ง
อาอาอา เสียงนี้เป็นเสียงที่อาจเปล่งออกมาให้ยาวต่อเน่ืองกันไปได้ นักศึกษาได้ทดลองออกเสียง
สระไปหน่งึ เสยี งแลว้ โดยออกเสียง อา ซ่งึ จะได้ยนิ ทัง้ ในภาษาไทย เชน่ ในคำ� วา่ “พา” และภาษา
ต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ ในค�ำว่า “pa” เม่ือนักศึกษาพร้อมที่จะทดลองข้ันต่อไป ปล่อย
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62