Page 59 - ภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา
P. 59

ลกั ษณะทั่วไปของภาษา 1-49
และมคี วามจำ� เป็นต้องมศี พั ทเ์ ฉพาะในการเรียกหนว่ ยตา่ งๆ ทีป่ ระกอบกันเป็นระบบเสียง ระบบคำ�  
และระบบโครงสรา้ งของภาษานนั้ ๆ ชอื่ เหลา่ นอ้ี าจทำ� ใหน้ กั ศกึ ษาคดิ วา่ การศกึ ษาในแบบวทิ ยาศาสตร์
เป็นเร่ืองท่ียาก แต่ดังท่ีกล่าวมาแล้วเราอาจเร่ิมต้นด้วยการสังเกตสิ่งท่ีเกิดขึ้นกับตนเองและข้อมูลที่
สามารถเก็บได้ในชุมชนของเรา แล้วน�ำมาวิเคราะห์โดยใช้หลักว่าจะแยกส่ิงท่ีมีลักษณะคล้ายกันให้
อยปู่ ระเภทเดียวกัน และใช้หลักเดยี วกนั ในการแยกประเภททุกสง่ิ ท่ีเราศกึ ษา

      หากเราพิจารณาภาษาที่ใช้ในยุโรป จะพบว่าอักษรชุดที่ใช้ในการเขียนภาษาอังกฤษ ยังใช้
ในการเขียนภาษาในยุโรปอกี เป็นจ�ำนวนมาก เม่อื ภาษาตา่ งๆ นัน้ มีระบบแตกต่างกันไป เราอาจต้ัง
สมมติฐานได้ว่าอักษรตัวเดียวกันจะออกเสียงไม่เหมือนกัน ลองฟังคนอังกฤษและคนฝรั่งเศสพูด
ภาษาของเขา เราคงบอกได้ว่าแต่ละกลุ่มจะมีจังหวะและการออกเสียงที่แตกต่างกันไป ส่วนภาษา
ไทยและภาษาอังกฤษนั้นแม้จะมีเสียงที่ฟังคล้ายกัน แต่มีลักษณะบางประการท่ีแตกต่างกันไป
สัญลักษณ์ท่ีใช้แทนเสียงพยัญชนะและสระของไทยน้ันมีจ�ำนวนมากกว่าตัวอักษรในภาษาอังกฤษ
ปญั หาในภาษาไทยจงึ ตรงกนั ขา้ มกับปัญหาในภาษาอังกฤษ คอื มตี ัวอักษรมากกวา่ เสยี ง เชน่ เสยี ง
/พ/ ในภาษาไทยอาจสะกดดว้ ย ภ หรอื ผ สิง่ ท่ีนา่ สังเกตอกี ประการหน่งึ คือ เสียงน้ใี นภาษาไทยจะ
เกิดในต�ำแหน่งตน้ ค�ำ เชน่ “พาน” “ภาส” และ “ผวิ ” ส่วนเสียง p ในภาษาองั กฤษอาจอยทู่ ต่ี ้นคำ�  
กลางคำ�  หรอื ทา้ ยคำ� กไ็ ด้ เชน่ past, wiper, seep หากพจิ ารณาการเปลง่ เสยี ง จะเหน็ ไดว้ า่ มี 3 ขนั้
ตอนดว้ ยกนั ขน้ั แรกคอื การเคลอ่ื นรมิ ฝปี ากบนและลา่ งมาชดิ กนั ขน้ั ทสี่ องคอื การกกั ลมอยรู่ ะยะหนง่ึ
ขน้ั ทส่ี ามคอื การเคลอื่ นรมิ ฝปี ากออกจากกนั ลมทก่ี กั ไวพ้ รอู อกมาทำ� ใหเ้ กดิ เสยี ง หากเสยี งนป้ี รากฏ
ทา้ ยคำ�  เชน่ “ภาพ” “ลาภ” ทดลองออกเสยี งค�ำสองค�ำนแ้ี ลว้ สังเกตดูวา่ เมื่อออกเสียง /พ/ ทา้ ย
ค�ำมีก่ขี ้นั ตอน เมื่อออกเสียงคำ� เหลา่ นี้ ไดอ้ อกเสยี งทา้ ยค�ำทงั้ สามขนั้ ตอนหรอื ไม่ ทดลองออกเสยี ง
ประโยค “เดก็ คนนช้ี อบวาดภาพ” ขอใหส้ งั เกตวา่ กอ่ นหนา้ ทจี่ ะออกเสยี งประโยคนจ้ี ะมแี ตค่ วามเงยี บ
เมื่อจบประโยคแล้วกม็ ีแต่ความเงยี บเช่นกัน เมือ่ ออกเสยี งสุดทา้ ยนัน้ เปิดปากหรอื เปลา่ ลองให้คน
อน่ื ๆ พดู ประโยคนี้ แลว้ สังเกตวา่ ตอนสดุ ท้ายเปดิ ปากหรอื เปล่า ถา้ ไมเ่ ปดิ แสดงวา่ การออกเสยี งมี
เพียงสองข้ันตอน ในความเป็นจริงแล้วหากไม่มีขั้นตอนที่สาม ก็ไม่เกิดเสียง ส่วนเสียงประเภท
เดยี วกนั น้เี มื่ออยทู่ ้ายค�ำในภาษาองั กฤษอาจออกเสยี งโดยมหี รือไมม่ ีขน้ั ตอนที่สามกไ็ ด้ แตใ่ นระบบ
เสียงภาษาไทย เสียงท่ีปรากฏในต�ำแหน่งท้ายค�ำมีเพียงเสียงกักเกิดจากการเคลื่อนอวัยวะที่กักลม
ออกจากกัน และเสียงนาสิกซึ่งลมไม่ออกทางช่องปากแต่ออกทางช่องจมูก (ในภาษาไทยมีเสียง
/ม/ /น/ และ /ง/) ในภาษาอังกฤษ สามเสยี งนอี้ าจปรากฏทา้ ยคำ�  แต่เสียง /ง/ จะไมป่ รากฏตน้ ค�ำ
ในระบบเสียงภาษาอังกฤษ คนท่ีพูดภาษาอังกฤษจะมีปัญหาเวลาออกเสียงน้ีในค�ำว่า งู งาม งาน
ความรเู้ รอื่ งระบบเสยี งของภาษาตา่ งประเทศจะชว่ ยใหเ้ ราเขา้ ใจวา่ ทำ� ไมคนทศ่ี กึ ษาภาษาตา่ งประเทศ
จงึ มีปญั หาและหาทางแก้ไข

      อกี เรอ่ื งหนง่ึ ทนี่ า่ สนใจคอื นอกเหนอื จากอกั ษรทใ่ี ชแ้ ทนเสยี งสระและพยญั ชนะแลว้ ในภาษา
ไทยยังมีเครื่องหมายวรรณยุกต์ที่ท�ำให้ค�ำท่ีออกเสียงเหมือนกัน แต่มีเสียงวรรณยุกต์ต่างกัน มี
ความหมายตา่ งกนั ดว้ ย เชน่ ไก-ไก่ ไข-ไข้ สว่ นในภาษาองั กฤษการลงนา้ํ หนกั คำ� ทำ� ใหค้ ำ� มคี วามหมาย
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64