Page 58 - ภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา
P. 58
1-48 ภาษาอังกฤษสำ�หรบั ครูสอนภาษา
ลำ� ลมจากปอดขนึ้ มาตามทอ่ ลมแลว้ ดนั ใหผ้ า่ นเสน้ เสยี งเขา้ มาในลำ� คอทำ� ใหล้ ำ� ลมเกดิ การสน่ั สะเทอื น
ยกลนิ้ สว่ นหนา้ ใหส้ งู ขนึ้ แตไ่ มใ่ หแ้ ตะเพดานแขง็ เสยี งทไี่ ดค้ อื เสยี งอะไร หากสงั เกตรมิ ฝปี ากจะเหน็
วา่ เหยยี ดออก เสยี งท่ไี ด้จะใกลเ้ คียงกบั เสียงสระในคำ� ว่า “ม”ี ในภาษาไทย และ “bee” ในภาษา
องั กฤษ ตอ่ มากล็ ดระดบั ของลนิ้ สว่ นหนา้ ลงมาใหอ้ ยใู่ นระดบั กลางๆ เสยี งจะเปลย่ี นไปเปน็ เสยี งคลา้ ย
“เอ” ในค�ำไทย เชน่ “เล” และในค�ำภาษาอังกฤษ เชน่ “bed” หากลดส่วนกลางของลิ้นให้อยูใ่ น
ระดับตา่ํ เสียงที่ออกมาจะคลา้ ยกับเสียง “แอ” ในค�ำไทย เช่น “แบ” และในค�ำภาษาองั กฤษ เช่น
“bad”
ในการทดลองขั้นต่อไป ขยับส่วนโคนของลิ้นให้สูงแต่อย่าให้แตะเพดานอ่อน ห่อริมฝีปาก
เสยี งท่เี ปลง่ ออกมาจะคลา้ ยสระในคำ� ว่า “พนู ” ในภาษาไทย และใกลเ้ คยี งกับสระในคำ� วา่ “pool”
ในภาษาองั กฤษ
นักศึกษาคงทราบดีว่าตัวอักษรภาษาอังกฤษมีทั้งหมด 26 ตัว ใช้แทนเสียงสระ 5 ตัว ที่
เหลือ 21 ตัว แทนเสียงพยัญชนะ หากนักศึกษาเปิดพจนานุกรมที่ใช้สัญลักษณ์แทนเสียงเพ่ือช่วย
ใหอ้ อกเสยี งได้ นกั ศกึ ษาจะตระหนกั วา่ แตล่ ะเสยี งมคี วามแตกตา่ งกนั เสยี งสระรวมแลว้ มี 22 เสยี ง
สำ� หรบั ภาษาองั กฤษแบบองั กฤษ และ 20 เสยี ง สำ� หรบั ภาษาองั กฤษแบบอเมรกิ นั นอกจากนี้ ภาษา
อังกฤษยังใช้สื่อสารในวงการกิจการงานต่างๆ ของผู้คนทั่วโลก อาจมีเสียงแตกต่างกันไปตาม
ท้องถ่ิน แม้แต่คนคนเดียวกันเม่ือออกเสียงซํ้าๆ กันหลายๆ คร้ัง หากใช้เคร่ืองวิเคราะห์เสียง
เหล่านั้นจะเห็นว่าไม่เหมือนกันทุกครั้งไป ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะอวัยวะที่ใช้ในการออกเสียงอาจไม่ได้
อยู่ในต�ำแหน่งเดียวกันเสมอไป แต่อย่างไรก็ตามผู้ฟังจะปรับระบบการรับเสียงของตนให้เข้ากันกับ
ระบบของผ้พู ดู
หากนกั ศกึ ษาพจิ ารณาระบบเสยี งในภาษาองั กฤษและตวั อกั ษรทใ่ี ชแ้ ทนเสยี ง จะเหน็ วา่ ตอ้ ง
มีปัญหาเพราะจ�ำนวนเสียงมีมากกว่าตัวอักษร ในปัจจุบันถ้าเราดูตัวสะกดค�ำต่างๆ ที่มีเสียงสระ
เหมอื นกนั เราจะพบวา่ มกี ารสะกดแตกตา่ งกนั ไป และการเขยี นคำ� เหลา่ นไ้ี ดถ้ กู ตอ้ งเปน็ การแสดงวา่
เขียนหนังสอื เปน็ เช่น piece, peace; beet, beat; cheese, seize ดังน้นั การทเ่ี รารู้ว่าคำ� ตา่ งๆ ใน
ภาษาประกอบดว้ ยเสยี งต่างๆ ถ้าหากไมร่ ้รู ะบบเสียงในภาษานน้ั ๆ แล้ว เรากไ็ มอ่ าจออกเสยี งหรอื
เขยี นคำ� ไดถ้ กู ต้อง นอกจากน้ี เสยี งทใี่ ช้ในภาษาอาจเปล่ียนแปลงได้ คนร่นุ ใหมอ่ าจไมไ่ ดอ้ อกเสียง
ตามแบบคนรุ่นเก่า หากมีคนออกเสียงแบบคนรุ่นใหม่มากขึ้นเรื่อยๆ เสียงท่ีคนรุ่นเก่าใช้อาจหมด
ความนิยมและหายไปจากระบบ นี่เป็นสาเหตุหนึ่งที่ท�ำให้ค�ำบางค�ำในภาษาอังกฤษมีตัวอักษรที่
ไม่ได้ใช้แทนเสียงทำ� ใหเ้ กดิ ความสับสนแก่ผ้เู รียน เช่น ตัวอกั ษร gh ในคำ� วา่ light, night, etc. ใน
สมัยโบราณ ตวั อกั ษร 2 ตวั นี้ใช้แทนเสยี งเสียดสที ี่เกิดทเ่ี พดานออ่ น ปัจจบุ ันเสียงนี้ไมม่ ใี ชใ้ นภาษา
องั กฤษแลว้ แตย่ งั ปรากฏในภาษาเยอรมนั ซงึ่ เปน็ ภาษาในตระกลู เยอรแมนกิ และภาษาองั กฤษเปน็
ภาษาในตระกูลน้ีเหมือนกัน จึงพอจะเห็นได้ว่าสถานท่ีและกาลเวลา ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงใน
ภาษาได้ การศึกษาภาษาในลักษณะนี้จะต้องมีความรู้ด้านประวัติศาสตร์และสังคมของผู้ใช้ภาษา