Page 26 - ภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา
P. 26
14-16 ภาษาอังกฤษสำ� หรบั ครสู อนภาษา
(interference) ของภาษาท่ี 1 เข้าสู่ภาษาท่ี 2 ซ่ึงมักจะเป็นปัญหาท่ีเกิดขึ้นตามลักษณะซับซ้อน
ภายในระบบของภาษาเอง (intralingual) หรอื เกดิ จากกระบวนการพัฒนา (development) ของ
ผเู้ รยี นเองซึง่ ปัญหาส่วนนีม้ ักเกดิ ในการเรยี นเรือ่ งระบบไวยากรณ์และศัพทเ์ ทา่ นั้น
การวิเคราะหแ์ ละเปรยี บเทยี บภาษา (procedures for CA) ซึ่งเป็นวิธที ดี่ ที สี่ ดุ ท่ใี ชก้ นั อยู่
ในขณะน้ี คือ วธิ กี ารของวิตแมน (Randal L. Whitman, 1970) ซึ่งมีอยู่ 4 ข้ันตอน คอื
1) Description การเขียนค�ำบรรยายลกั ษณะของท้ัง 2 ภาษา
2) Selection การเลอื กรปู แบบเพอื่ จะนำ� มาเปรยี บเทียบกัน
3) Contrast การเปรยี บเทยี บรปู แบบที่ได้เลอื กไว้
4) Prediction การทำ� นายขอ้ ยงุ่ ยากหรอื ปญั หาทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ในการเรยี นภาษาจากพนื้ ฐาน
ของการเปรียบเทยี บนนั้ ๆ
ส�ำหรับการสอนภาษาอังกฤษด้วยการใช้วิธีเปรียบเทียบระหว่างไวยากรณ์ไทยและอังกฤษ
ถ้าจะสอนให้ได้ดี ผู้สอนจะต้องรู้จักลักษณะของทั้งสองภาษาอย่างถ่องแท้ เพื่อวิเคราะห์ลักษณะท่ี
เปน็ ขอ้ แตกตา่ งระหวา่ งสองภาษามกั เปน็ ปญั หาในการเรยี นเพอื่ แกไ้ ขหรอื เพอื่ หาคำ� อธบิ ายหลกั หรอื
กฎเกณฑไ์ วยากรณ์ดงั กล่าวใหผ้ เู้ รยี นเกิดความเขา้ ใจอยา่ งแท้จริง ตวั อย่างที่เหน็ ไดช้ ดั ได้แกห่ นว่ ย
ค�ำด้านไวยากรณ์ (grammatical morpheme) ซึ่งหมายถึง หน่วยค�ำด้านความหมายเป็นค�ำท่ีมี
ความหมายชดั เจนในตัวเอง เช่น หู ตา จมกู ปาก พ่อ แม ่ และหน่วยคำ� ที่ไมม่ ีความหมายในตวั เอง
เด่นชัด นอกจากจะน�ำไปใช้รวมกับค�ำอื่นๆ โดยเฉพาะประโยค จะช่วยให้ความหมายเด่นชัดด้าน
ไวยากรณ์ ลกั ษณะของหนว่ ยคำ� ประเภทนอ้ี าจไมค่ อ่ ยเดน่ ชดั ในภาษาองั กฤษ เชน่ หนว่ ย s ใน boys
จะแสดงความเปน็ พหพู จน์ หรอื หนว่ ยคำ� -ed ในประโยค เชน่ worked จะแสดงความเปน็ อดตี กาล
ในภาษาไทยเราลักษณะของหน่วยค�ำเช่นนี้อาจเป็นค�ำว่า แล้ว ฉันกินข้าวแล้ว ที่แสดงความเป็น
อดตี กาล หรือค�ำว่า หลาย ในวลี นักเรยี นหลายคน ท่แี สดงความเป็นพหูพจน์ เปน็ ต้น
นอกจากน้ี ค�ำในภาษาไทยจะเปน็ ค�ำโดดท่มี าประสมกนั เช่น
โรงเรียน โรงรถ โรงอาหาร
นา้ํ ปลา นํา้ เปลา่ นํา้ ใจ
นอกจากนี้ ยังมีหน่วยค�ำท่ีเป็นค�ำเติม (affix) เป็นหน่วยค�ำที่มีลักษณะคล้ายหน่วยค�ำ
ไม่อิสระ (bound morpheme) มีความหมายในตวั เองแตต่ ้องรวมอยกู่ บั หน่วยค�ำอน่ื เชน่
นกั – เชน่ นักเรียน นกั รอ้ ง นักเลง
หมอ – เชน่ หมอฟนั หมอดู หมอลำ�
ในภาษาองั กฤษ หน่วยคำ� จะประกอบด้วย prefix root และ suffix เช่น
Prefix
de – เช่น depart decline
dis – เชน่ dislike dishonest distant