Page 24 - ภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา
P. 24

14-14 ภาษาอังกฤษส�ำหรบั ครสู อนภาษา
      1.1 	การสอนไวยากรณแ์ บบนริ นยั /อนมุ าน (Deductive/Explicit) การใหเ้ หตผุ ลแบบนริ นยั /

อนมุ าน (deductive reasoning) คือ วธิ กี ารให้เหตผุ ลแบบบนลงลา่ ง (top-down approach) ใน
การสอนไวยากรณภ์ าษาองั กฤษ ผ้สู อนจะเป็นศนู ยก์ ลางและอธิบายกฎเกณฑ์ โครงสร้างไวยากรณ์
กอ่ นเรมิ่ อธิบายรายละเอยี ดและใหผ้ เู้ รยี นฝกึ ใชห้ รอื ฝึกท�ำแบบฝกึ หดั ซ้าํ ๆ เพ่ือฝึกท�ำความเขา้ ใจกบั
สง่ิ ทอี่ ธบิ ายไปกอ่ นหนา้ นนั้ ตวั อยา่ งเชน่ การสอนโครงสรา้ งไวยากรณเ์ รอ่ื งกรรตวุ าจก (active voice)
และกรรมวาจก (passive voice) โดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้เรียนสามารถเปลี่ยนประโยคกรรตุวาจก
เปน็ ประโยคกรรมวาจกได้

      หากผสู้ อนใชท้ ฤษฎกี ารสอนแบบนิรนัย ผู้สอนอาจอธิบายผู้เรียนตามข้นั ตอน ดงั ต่อไปนี้
           1) 	ยกตวั อยา่ งประโยคกรรมวาจก เช่น
               Adam kicked the ball.
           2) 	แยกโครงสร้างของประโยคออกเป็น ประธาน กริยา กรรม

 Adam          kicked         the ball.

                               

ประธาน       กรยิ ารปู อดตี    กรรม
(subject)  (past tense verb)  (object)

           3) 	เปลยี่ นกรรมของประโยคกรรตวุ าจกเปน็ ประธานในประโยคกรรมวาจก ไดแ้ ก่ The
ball

           4) 	ใส่ verb to be หากคำ� กรยิ าหลกั (main verb) ของประโยคกรรตวุ าจกเปน็ รปู อดตี
(past tense) ซึง่ ในประโยคกรรมวาจก ประธานคือ the ball จงึ ต้องใช้ was

           5) 	เปลี่ยนคำ� กริยาหลกั kicked ให้เปน็ รปู past participle ได้แก่ kicked
           6) 	ใส่ by และตามด้วยประธานของประโยคกรรตวุ าจก ไดแ้ ก่ by Adam
           7) 	ได้ประโยคกรรมวาจก ไดแ้ ก่ The ball was kicked by Adam.
      วิธีนี้เหมาะส�ำหรับผู้เรียนที่มีความกระตือรือร้นและมีความต้ังใจในการเรียน และเหมาะ
ส�ำหรับช้ันเรียนท่ีมีผู้เรียนจ�ำนวนมาก เนื่องจากผู้สอนจะเป็นศูนย์กลาง จึงเป็นผู้อธิบายทุกส่ิง
ทุกอย่างให้ผู้เรียนเข้าใจ ผู้เรียนจะเป็นผู้รับข้อมูลเพียงอย่างเดียว หากผู้เรียนไม่มีความตั้งใจ
อย่างเพียงพอ อาจเกิดความเบ่อื หน่ายหรอื ขาดแรงจูงใจในการเรียนได้
      1.2 	การสอนไวยากรณแ์ บบอปุ นยั /อปุ มาน (Inductive/Implicit) การใหเ้ หตผุ ลแบบอปุ นยั /
อปุ มาน (inductive reasoning) คือ วิธกี ารใหเ้ หตผุ ลแบบลา่ งข้นึ บน (bottom-up approach) ใน
การสอนไวยากรณ์ภาษาองั กฤษ ผูส้ อนจะยกตัวอยา่ งที่หลากหลายจนกว่าผเู้ รียนจะเกดิ ความเข้าใจ
ดว้ ยตนเองวา่ เกย่ี วกบั การใชง้ านโครงสรา้ งไวยากรณ์ เมอ่ื ผเู้ รยี นเกดิ ความเขา้ ใจรายละเอยี ดและการ
จัดวางโครงสร้างไวยากรณ์จากตัวอย่างที่ผู้สอนให้ก่อนหน้านั้น ผู้เรียนจะสามารถหาข้อสรุปกฎ
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29