Page 25 - ภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา
P. 25
การสอนไวยากรณแ์ ละค�ำศพั ท์ภาษาองั กฤษ 14-15
ไวยากรณ์และการน�ำไปใช้งานได้ด้วยตนเองในท่ีสุด โดยผู้สอนจะถามผู้เรียนให้ช่วยสรุปกฎและ
วธิ กี ารใช้ไวยากรณด์ ้วย
ตัวอย่างเช่น หากผู้สอนใช้ทฤษฎีการสอนแบบอุปนัยในการสอนโครงสร้างประโยค
กรรตวุ าจกและประโยคกรรมวาจก ผู้สอนอาจเริ่มต้นด้วยการยกตวั อยา่ ง เชน่
Active voice sentence : Adam kicked the ball.
Passive voice sentence : The ball was kicked by Adam.
จากน้ันจึงให้ผู้เรียนช่วยกันระดมความคิดเพื่อหาข้ันตอนการเปล่ียนประโยคกรรตุวาจก
และประโยคกรรมวาจก (ผู้สอนอาจให้ตัวอย่างมากกว่า 1 ตัวอย่าง หากผู้เรียนยังไม่สามารถสรุป
กฎเกณฑไ์ ด)้
ทฤษฎกี ารสอนทัง้ สองแบบสามารถนำ� มาใชใ้ นการเรียนการสอนไวยากรณภ์ าษาองั กฤษได้
เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตาม ผู้สอนต้องพิจารณาปัจจัยแวดล้อมในการเรียนการสอนประกอบด้วย
ตวั อยา่ งเชน่ หากผูเ้ รียนมจี ำ� นวนมากในแตล่ ะคร้ังและหลกั ไวยากรณ์ดงั กล่าวเปน็ เรอื่ งซับซ้อน การ
สอนแบบนริ นัย/อปุ มยั อาจจะเหมาะสมกวา่ แตห่ ากชั้นเรยี นมขี นาดเล็ก มเี วลาในการเรยี นการสอน
มาก และผเู้ รยี นมคี วามกระตอื รอื รน้ การสอนแบบอปุ นยั /อปุ มานอาจจะเหมาะสมกบั ผเู้ รยี นมากกวา่
นอกจากนจ้ี ากประสบการณข์ องผเู้ ขยี น ผสู้ อนอาจผสมผสานดว้ ยการนำ� ทฤษฎกี ารสอนทงั้ สองแบบ
มาใช้ในการสอนไวยากรณภ์ าษาอังกฤษไดเ้ ชน่ กัน
2. การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างไวยากรณ์ภาษาอังกฤษและภาษาไทย
(Contrastive Analysis)
การวเิ คราะหแ์ ละการเปรยี บเทยี บภาษา (contrastive analysis หรอื เขยี นยอ่ วา่ CA) เปน็
สาขาหนงึ่ ของภาษาศาสตรป์ ระยกุ ตแ์ ละเปน็ พน้ื ฐานของวชิ าภาษาศาสตรท์ ว่ั ไป ซงึ่ เปน็ การหาความ
แตกต่างระหว่างสองภาษาหรือมากกว่าน้ัน แต่ส่วนมากเป็นการวิเคราะห์และเปรียบเทียบระหว่าง
สองภาษามากกว่า โดยนักภาษาศาสตร์โครงสร้างเป็นผู้น�ำกลวิธีเปรียบเทียบภาษานี้มาเป็นเคร่ือง
ชว่ ยผสู้ อนภาษาในดา้ นการชใ้ี หเ้ หน็ ขอ้ ผดิ พลาดในการเรยี นภาษา การวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บสามารถ
ทำ� ไดต้ ้งั แตเ่ รื่องระบบเสยี ง (phoneme) หน่วยคำ� (morpheme) ประโยค คำ� ศพั ท์ วฒั นธรรมทาง
ดา้ นภาษา รวมทง้ั ความคดิ ตลอดจนสง่ิ ทกี่ ำ� หนดความคดิ (condition) ระหวา่ งภาษาทเี่ ปรยี บเทยี บ
นั้นเพ่ือน�ำลักษณะแตกต่างท่ีได้จากการวิเคราะห์และเปรียบเทียบมาปรับปรุงและช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ โดยก่อนจะน�ำทฤษฎีภาษาศาสตร์แบบใดมา
ประกอบการวเิ คราะห์ ผวู้ เิ คราะหจ์ ะตอ้ งพจิ ารณาเสยี กอ่ นวา่ มรี ากฐานสากลของภาษาใด (underly-
ing linguistic universal) ในรปู ใดบ้างทร่ี วมกันอยซู่ ่ึงจะชว่ ยใหผ้ ทู้ ่กี ำ� ลงั ศกึ ษาภาษาตา่ งประเทศ
น้ันๆ รจู้ ักวธิ ีการน�ำกฎไวยากรณภ์ าษาตา่ งประเทศไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และชว่ ยลดการแทรกแซง