Page 22 - ภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา
P. 22
14-12 ภาษาองั กฤษสำ� หรับครสู อนภาษา
2.3 ความสามารถในการใช้โครงสร้างภาษาเพื่อส่ือความหมายด้านการพูด และเขียน
(Discourse Competence) หมายถึงความสามารถในการเชื่อมระหว่างโครงสร้างภาษา (gram-
matical form) กับความหมาย (meaning) ในการพูดและเขียนตามรูปแบบ และสถานการณ์ท่ี
แตกตา่ งกัน
2.4 ความสามารถในการใชก้ ลวธิ ใี นการสอื่ ความหมาย (Strategic Competence) หมายถงึ
การใชเ้ ทคนคิ เพอ่ื ใหก้ ารตดิ ตอ่ สอ่ื สารประสบความส�ำเรจ็ โดยเฉพาะการสอื่ สารดา้ นการพดู ผพู้ ดู ทม่ี ี
ความสามารถในดา้ นนจี้ ะมกี ลวธิ ใี นการทท่ี ำ� ใหก้ ารสนทนาดำ� เนนิ ไปอยา่ งตอ่ เนอ่ื งโดยไมห่ ยดุ ลงกลางคนั
เช่น การใช้ภาษาท่าทาง (body language) การขยายความโดยใช้ค�ำศัพท์อื่นแทนค�ำที่ผู้พูด
นึกไม่ออก เป็นต้น
คาเนลและสเวน (Canale & Swain, 1980) อธิบายไว้อย่างชัดเจนถึงความส�ำคัญของ
กฎเกณฑ์และโครงสร้างทางภาษาว่า ถ้าปราศจากกฎเกณฑ์ และโครงสร้างแล้ว ความสามารถ
ทางการสื่อสารของผเู้ รยี นจะถูกจ�ำกดั ดงั น้ันความคล่องแคลว่ ในการใชภ้ าษา (fluency) และความ
ถูกต้องในการใช้ภาษา (accuracy) จึงมีความส�ำคัญเท่ากัน ดังน้ันในการสอนโครงสร้างทาง
ไวยากรณ์ จงึ ต้องเนน้ การนำ� หลักไวยากรณเ์ หล่านไ้ี ปใช้ เพ่อื การส่อื ความหมายหรอื การส่ือสาร
นอกจากน้ี นนู นั และแลมบ์ (Nunan & Lamb, 1996) และนนู นั (Nunan, 1991) ได้อธบิ าย
เกย่ี วกบั การสอนภาษาเพือ่ การสอ่ื สารไว้ว่า คือ กจิ กรรมทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การใช้ภาษาเพอื่ การส่ือสาร
ในสถานการณจ์ ริง หรือการใช้ภาษาอย่างมคี วามหมาย กจิ กรรมการสอนจะเนน้ กจิ กรรมท่เี กีย่ วกับ
กระบวนการแลกเปล่ียนข้อมูล (information sharing) การปฏิสัมพันธ์ (interaction) การสอน
ตามแนวสื่อสารจึงต้องใช้สื่อท่ีหลากหลาย เพราะส่ือมีความส�ำคัญต่อการเรียนแบบปฏิสัมพันธ์หรือ
การเรียนแบบร่วมมือและการฝึกใช้ภาษาเพื่อการส่ือสาร ในปัจจุบันมีต�ำราเรียนจ�ำนวนมากท่ี
สอดคล้องกับการเรียนการสอนตามแนวการส่ือสาร แบบเรียนไวยากรณ์ท่ีเน้นทฤษฎีการสอนน้ี จะ
ไมม่ ีแบบฝึกหัด (drill) หรอื โครงสรา้ งประโยค แบบเรยี นทเ่ี นน้ การเรยี นการสอนตามแนวการสอน
ภาษาเพอื่ การสอื่ สารนี้ ประกอบไปดว้ ยขอ้ มลู ในรูปต่างๆ เช่น การจดั สถานการณ์ทใ่ี หผ้ ูเ้ รียนแสดง
บทบาทสมมติหรือกิจกรรมคู่ หรืออาจก�ำหนดเรื่อง (theme) ที่จะเรียนแล้วมีกิจกรรมท่ีออกแบบ
ขนึ้ มาเพอื่ ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ใจเรอ่ื งนนั้ ๆ สอ่ื ทใี่ ชใ้ นการสอนจะเปน็ ของจรงิ (authentic material) เชน่
ปา้ ยประกาศโฆษณา หนงั สอื พมิ พ์ รปู ภาพ แผนท่ี เปน็ ตน้ นอกจากน้ี อาจใชเ้ กมเพอื่ ฝกึ ความถกู ตอ้ ง
และความคลอ่ งแคลว่ ในการใช้ภาษา
ริชาร์ดส์และร็อดเจอร์ส (Richards & Rodgers, 1995) กล่าวถึง บทบาทของผู้เรียนและ
บทบาทของผสู้ อนตามแนวการสอนภาษาเพอื่ การสอื่ สารไวว้ า่ ผเู้ รยี นคอื ผเู้ จรจาตอ่ รอง (negotiator)
การเรยี นรเู้ กดิ จากการปรกึ ษาหารอื ในกลมุ่ ผเู้ รยี น โดยผสู้ อนจดั กจิ กรรมใหผ้ เู้ รยี นไดม้ โี อกาสทำ� งาน
รว่ มกนั เปน็ กลมุ่ เลก็ ๆ จดุ มงุ่ หมายหลกั ในการทำ� กจิ กรรมกลมุ่ คอื มงุ่ ใหผ้ เู้ รยี นชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั
รจู้ กั การใหพ้ อๆ กบั การรบั บทบาทของผสู้ อน คอื ผดู้ ำ� เนนิ การ (organizer/facilitator) โดยเตรยี ม