Page 50 - ภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา
P. 50
14-40 ภาษาองั กฤษส�ำหรบั ครสู อนภาษา
ล�ำดับความเป็นไปตามความเป็นจริง เช่น การจ�ำสิ่งของภายในบ้าน ซึ่งประกอบด้วยห้องรับแขก
ห้องครัว ห้องนอน ห้องนํ้า รวมท้ังส่ิงของที่จะจ�ำ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ คอมพิวเตอร์ หรืออาจจะเป็น
เหตุการณ์หรือความคิดอย่างใดก็ได้ จากนั้น น�ำสิ่งของท่ีจะจ�ำไปเชื่อมโยงกับสถานที่ที่เราก�ำกับ
หมายเลขไว้ เม่ือตอ้ งการนกึ ถึงสิง่ ของทีจ่ ะจ�ำ กเ็ ร่มิ จากนกึ เป็นหมายเลข 1 2 3 4 … ไปเร่ือยๆ
2.2 ค�ำส�ำคัญ (Keywords) การจ�ำค�ำศัพท์โดยใช้ค�ำส�ำคัญ ถือเป็นวิธีท่ีใช้กันมากในการ
เรียนภาษาต่างประเทศ ส�ำหรับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ วิธีนี้เป็นการเช่ือมโยงเสียงของค�ำ
ภาษาอังกฤษกับความหมายของคำ� ศพั ทใ์ นภาษาไทย พร้อมกับการจนิ ตนาการภาพไปด้วย ออ๊ กฟ
อร์ด (Oxford, 1990) กลา่ วว่า วิธกี ารเรียนคำ� ศพั ทภ์ าษาองั กฤษด้วยเสียงและภาพจะทำ� ให้ผเู้ รยี น
จดจำ� คำ� ศพั ทไ์ ดง้ า่ ยกวา่ การจำ� จากการฟงั หรอื อา่ นเพยี งอยา่ งเดยี ว การเรยี นรคู้ ำ� ศพั ทด์ ว้ ยวธิ นี แ้ี บง่
ออกเปน็ สองขั้นตอนหลัก ไดแ้ ก่
1) ผสู้ อนหาคำ� ศพั ทภ์ าษาองั กฤษใหมท่ ตี่ อ้ งการใหผ้ เู้ รยี นจดจำ� และหาคำ� ศพั ทใ์ นภาษา
ไทยที่มีเสียงคล้ายคลึงกับคำ� ศัพท์ภาษาอังกฤษ
2) ผสู้ อนอธบิ ายความหมายของคำ� ศพั ทค์ ำ� ใหมน่ ใ้ี หผ้ เู้ รยี นเหน็ เปน็ ภาพโดยเชอ่ื มโยง
กบั ค�ำศพั ทภ์ าษาไทย
การสอนค�ำศัพท์ดว้ ยวิธีนจ้ี ะชว่ ยให้ผเู้ รียนจดจ�ำคำ� ศัพทใ์ หมๆ่
ตัวอย่างเช่น การเชื่อมโยงค�ำในภาษาอังกฤษกับภาษาไทย ค�ำว่า potato แปลว่า
มันฝรง่ั ออกเสียงว่า “โพเทโท” ส่วนคำ� ในภาษาไทยทีใ่ ชเ้ ป็นค�ำสำ� คัญ คอื โพ หรือต้นโพธ์ิ เมอื่ เรา
จำ� ค�ำวา่ potato ใหเ้ รานกึ ถึง ตน้ โพธแิ์ ละมันฝรั่ง โดยอาจจินตนาการว่า มีมันฝร่ังข้นึ อยใู่ ต้ตน้ โพธ์ิ
อยา่ งไรกต็ าม การเรยี นคำ� ศพั ทใ์ หมๆ่ ดว้ ยวธิ นี ม้ี ที ง้ั ขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี ทผี่ สู้ อนตอ้ งพงึ ระวงั เมอ่ื
น�ำไปใช้สอนค�ำศัพท์ แอนเดอสันและนาก้ี (Anderson and Nagy, 1991) กล่าวถึง ข้อเสียของ
ทฤษฎกี ารสอนแบบนไี้ ว้ 3 ประเด็นหลัก ไดแ้ ก่
- การสอนด้วยวิธีน้ี อาจท�ำให้ผู้สอนเสียเวลาในการคิดหาค�ำศัพท์ในภาษาแม่ของ
ผูเ้ รยี นและสร้างเรอ่ื งราวเพอ่ื ใหเ้ กิดภาพจินตนาการ
- ภาพทีผ่ ้เู รยี นสรา้ งขน้ึ จากการได้ยนิ เสยี ง มาจากผสู้ อนเพียงอย่างเดียว ด้วยเหตนุ ี้
ผู้เรียนจะมีสว่ นเก่ยี วข้องกับการเรียนร้คู ำ� ศัพทเ์ พียงแคเ่ ปน็ ผรู้ ับสิ่งท่ีผู้สอนป้อนให้ เทา่ น้ัน
- ผู้สอนไม่สามารถคาดเดาได้เลยว่า ผู้เรียนจะใช้เวลาในการรับและแปรข้อมูลออก
เป็นภาพในจินตนาการนานเทา่ ใด
ดว้ ยเหตนุ ้ี การสอนคำ� ศพั ทภ์ าษาองั กฤษดว้ ยวธิ นี จ้ี ะประสบผลสำ� เรจ็ ขน้ึ อยกู่ บั การรบั ขอ้ มลู
ของผูเ้ รยี นและความยากง่ายของค�ำศพั ทน์ น้ั ๆ