Page 53 - ภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา
P. 53
การสอนไวยากรณแ์ ละค�ำศพั ทภ์ าษาองั กฤษ 14-43
1. การสอนโดยใช้ท่าทาง (Total Physical Response (TPR))
Total Physical Response (TPR) คือ การสอนภาษาโดยการใช้ท่าทางการเคล่ือนไหว
ประกอบ โดยให้ผู้เรียนฟังค�ำส่ังจากครูแล้วผู้เรียนท�ำตาม เป็นการประสานการฟังกับการใช้
การเคลอื่ นไหวของรา่ งกายเปน็ การตอบรบั ใหท้ �ำตามโดยผเู้ รียนไมต่ ้องพดู วธิ สี อนภาษาโดยการใช้
ท่าทางเหมาะที่จะใช้ส�ำหรับผู้เริ่มต้นเรียนภาษาต่างประเทศหรือเด็กเล็ก การสอนค�ำศัพท์ภาษา
องั กฤษดว้ ยการใชท้ า่ ทางสามารถทำ� ได้กบั การสอนคำ� ศัพท์ 4 ประเภท ได้แก่
1.1 ค�ำส่ังท่ีมีค�ำศัพท์เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body Movement) เช่น นั่งลง
(sit down) ยนื ขนึ้ (stand up) เลยี้ วซา้ ย (turn left) เลยี้ วขวา (turn right) เดนิ หนา้ (go straight)
กระโดด (jump) ปรบมือ (clap your hands) หยดุ (stop) กลับหลังหนั (turn around) เปน็ ตน้
สำ� หรบั กจิ กรรมหรอื เกมทใ่ี ชอ้ าจใชเ้ กม Simon Says เชน่ Simon Says touch your nose.
โดยผสู้ อนแสดงกริ ยิ าทา่ ทางใหส้ มจรงิ และควรพดู คำ� สง่ั จบกอ่ นแลว้ จงึ ทำ� ทา่ ทาง เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นตง้ั ใจ
ฟังกอ่ น และป้องกนั นกั ศึกษาท�ำตามครโู ดยทไ่ี ม่เขา้ ใจ
1.2 ค�ำสั่งท่ีมีค�ำศัพท์ท่ีเป็นสิ่งของ (Objects) เช่น สมุด (book) ปากกา (pen) ดินสอ
(pencil) ยางลบ (eraser) ไม้บรรทัด (ruler) โต๊ะ (table) เกา้ อี้ (chair) ประตู (door) นาฬิกา
(clock) ไฟฉาย (flashlight) จาน (plate) ชาม (bowl) แก้วนํ้า (glass) ช้อน (spoon) ส้อม
(fork) เปน็ ต้น
ท้ังนี้ ผู้สอนอาจพาผู้เรียนออกนอกห้องเรียน เพื่อเรียนรู้วัตถุส่ิงของต่างๆ หรืออาจใช้
เกม bring me (a pen, a red pencil)
1.3 ค�ำสั่งที่เก่ียวข้องกับรูปภาพ มเี ปา้ หมายใหผ้ เู้ รยี นรู้จักกล่มุ คำ� เกย่ี วกับภาพตา่ งๆ ทัง้ นี้
รูปภาพที่ใชต้ ้องมสี ิง่ ของ/กจิ กรรมต่างๆ/ผู้คนทจี่ ะสอนผูเ้ รยี นได้
การเลือกภาพท่ีใช้ในการเรียนการสอนควรใช้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน โดยครูยกตัวอย่าง
ค�ำถามจากภาพ เมอ่ื ครูถามแลว้ ให้ผเู้ รียนไปชภ้ี าพให้ดู ครูควรเตรยี มภาพที่เปน็ ภาพตดั แปะ จะได้
เคลอ่ื นยา้ ย คน สตั ว์ สงิ่ ของ ไปไวต้ ามตำ� แหน่งต่างๆ ของภาพได้ ทั้งน้ี เพอ่ื ตรวจสอบว่าผเู้ รียน
เข้าใจหรือไม่ ภาพหน่ึงอาจสอนใช้สอนได้หลายๆ ครั้ง หรืออาจสอนเสริมเพ่ิมเติม เมื่อผู้เรียนรู้
คำ� ศพั ทม์ ามากแลว้
1.4 การเล่าเร่ือง โดยครูเล่าเรื่องคล้ายกับชีวิตประจ�ำวันของนักเรียน หรือเล่านิทาน
สองสามครง้ั แลว้ ใหผ้ เู้ รยี นมาแสดงละครจากเรอ่ื งทคี่ รเู ลา่ หรอื อาจใหน้ กั เรยี นเขยี นเรอื่ งนน้ั ขนึ้ มาวา่
เหมอื นทีค่ รูเล่าหรอื ไม่
กิจกรรมการเล่าเรื่องและการเขียนของนักเรียนจะแสดงให้เห็นว่า ผู้เรียนฟังแล้วเข้าใจมาก
น้อยเพียงใดควรเร่ิมจากง่ายๆ ก่อน การสอนภาษาด้วยการเล่าเร่ืองท่ียาวขึ้น ควรใช้เม่ือผู้เรียนมี
ความพร้อมด้านภาษาองั กฤษมากข้นึ