Page 35 - สังคมมนุษย์
P. 35

มนษุ ย์กับสถาบนั สงั คมและการจดั ช่วงชน้ั ทางสังคม 3-25
            9) คา่ นยิ มในเรอื่ งความเปน็ ไทยในตวั เอง แสดงความมอี สิ ระเสรภี าพในการประกอบกจิ กรรม
ต่างๆ ตามความคิดของตนเองโดยไมข่ ึน้ กับใคร ชอบตามใจตวั เองและทำ� อะไรตามความสะดวกสบาย
            10) คา่ นยิ มในเรอ่ื งตวั ใครตวั มนั มงุ่ เอาตวั รอดเอาแตค่ วามสะดวกสบายของตวั เอง ขาดการ
เอือ้ เฟอื้ เสยี สละ
            11) คา่ นยิ มในเรือ่ งความเอื้อเฟื้อเผอื่ แผ่
            12) คา่ นยิ มในเรื่องการขาดระเบยี บวินัย
            13) ค่านิยมในเรอื่ งการพนนั
            14) คา่ นยิ มในเรอื่ งไทยมงุ และชอบสอดรู้สอดเหน็
            15) ค่านิยมในเรอื่ งโหราศาสตร์
            16) ค่านิยมในเรื่องระบบอาวโุ ส
            17) ค่านิยมในเรอ่ื งชาตนิ ยิ ม
            18) คา่ นยิ มในเรอื่ งการศกึ ษา นยิ มเรอ่ื งวฒุ กิ ารศกึ ษามากกวา่ ประสบการณแ์ ละความชำ� นาญ
            19) คา่ นยิ มในเรอ่ื งขนาดของครอบครวั จะมขี นาดพอดพี อเหมาะกบั สถานภาพทางเศรษฐกจิ
ของแตล่ ะครอบครวั
       วิกฤตการณ์ในครอบครัวไทย (Family Crisis) หมายถงึ เหตกุ ารณท์ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั กจิ กรรมตา่ งๆ
ภายในครอบครัวท่ีเปล่ีนแปลงไปตามความผันแปรของวิถีทางการด�ำเนินชีวิตที่สมาชิกในครอบครัวต้อง
เผชิญกับภาวะท่ีโลกเจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วด้วยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีใหม่ๆ ขณะเดียวกัน
ปัญหาและความขัดแยง้ ต่างๆ ทางสังคมกเ็ พิม่ พูนมากขึน้ จนสมาชกิ ในครอบครวั ไมส่ ามารถปรับตัวหรอื
เตรียมตวั รับสถานการณ์ได้ ซึง่ เปน็ เหตุท่ไี ม่คาดหวงั ไมป่ รารถนาจะให้เกิดข้นึ (ทัศนยี ์ ทองสว่าง, 2549,
น. 99)
       ลักษณะวิกฤตการณ์ของครอบครัวไทย มลี กั ษณะดังนี้ (ทัศนีย์ ทองสว่าง, 2549, น. 101-111)
            1) ปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว ได้แก่ ปัญหาญาติพี่น้อง ความบีบค้ันทางเศรษฐกิจ
ความแตกต่างทางวัฒนธรรมสามีภรรยาที่แตกต่างกันในเรื่องเช้ือชาติ ศาสนา ฐานะทางสังคม และ
วัฒนธรรม และพน้ื ฐานการศึกษาของคู่สมรสที่แตกต่างกัน
            2) ปญั หาการนอกใจของคู่สมรส
            3) ปัญหาการหย่ารา้ ง
            4) ปญั หาความตงึ เครยี ดและความไมเ่ ปน็ ระเบยี บของครอบครวั ซง่ึ เกดิ ขนึ้ จากบทบาทของ
ค่สู มรสซ่งึ เป็นไปตามระดบั ความคาดหวังในบทบาทท่ีแต่ละคนมีต่อกนั (Role Expectation) ความแตก
ตา่ งกนั ในฐานะทางสังคมลักษณะความสัมพนั ธ์ระหวา่ งเขยและสะใภ้ ความตึงเครยี ดทางเศรษฐกจิ ฐานะ
ทางการงานของภรรยา บุคลิกลกั ษณะและแบบความประพฤติของค่สู มรส
            5) ปญั หาการตายจากกันของคูส่ มรส
       2.2 	สถาบนั เศรษฐกจิ เปน็ สถาบนั ทตี่ อบสนองความตอ้ งการตอ่ ชวี ติ ดา้ นการมชี วี ติ และการพฒั นา
คุณภาพชีวิต แบบแผนการปฏิบัติของสถาบันน้ีเกี่ยวข้องกับแบบแผนทางการผลิต การกระจายสินค้า
บริการและการบริโภค
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40