Page 79 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 79
แนวคิดเก่ียวกับส่ือและนวัตกรรมทางการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ 1-69
ภาพที่ 1.32 หนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Book)
คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน (Computer Assisted Instruction: CAI)
ด้วยคุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ที่เป็นสื่อสองทางสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ได้ คอมพิวเตอร์
จึงถูกน�ำมาใช้เป็นสื่อการศึกษา โดยมีการพัฒนาบทเรียนปฏิสัมพันธ์ข้ึนมาใช้งานบนคอมพิวเตอร์เรียกว่า
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน บทเรียนเหล่าน้ีจะท�ำหน้าที่เป็นตัวกระตุ้น หรือเร้าความสนใจให้ผู้เรียน
ตอบสนอง โดยบทเรียนแบบปฏิสัมพันธ์ท่ีเกิดขึ้นส่วนใหญ่ก็จะเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นสื่อในการเรียนการสอน สามารถตอบสนองความ
แตกต่างระหว่างผู้เรียนได้เป็นอย่างดี เน่ืองจากผู้เรียนสามารถใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในการเรียนด้วย
ตนเอง มีปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนพร้อมทั้งได้รับผลย้อนกลับ (feedback) อย่างทันทีและต่อเนื่อง จึงง่ายต่อ
การทบทวนความเข้าใจและประเมินตนเองได้ตลอดเวลา โดยปราศจากข้อจ�ำกัดทางด้านเวลาและสถานท่ี
อเี ลิรน์ นง่ิ (e-Learning)
อีเลิร์นน่ิง เป็นกระบวนการเรียนรู้ผ่านส่ือคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่ช่วยให้
ผเู้ รยี นสามารถเรยี นไดท้ กุ ท่ที ุกเวลา การเรียนรูผ้ า่ นเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ หรอื อเี ลิร์นนิง่ เปน็ การขยายโอกาส
ทางการศึกษา โดยท่ีผู้เรียนมีเสรีภาพในการเลือกเนื้อหาสาระของการเรียนรู้ ก�ำหนดเน้ือหาการเรียนรู้
ด้วยตนเองตามความถนัดและความสนใจของผู้เรียน การน�ำเสนอเนื้อหาในลักษณะมัลติมีเดียที่ช่วยเพ่ิม
ประสิทธิภาพการเรียนการสอน สนับสนุนให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง พัฒนาความสามารถใน
การคิด กระตุ้นและเอื้อให้เกิดการวิพากษ์อย่างมีเหตุผลด้วยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน หรือ
ระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง อีเลิร์นนิ่งจึงเป็นการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ตามศักยภาพและความ
สนใจของผู้เรียน อันเป็นปัจจัยพ้ืนฐานในการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองและตลอดชีวิต
การน�ำอีเลิร์นนิ่งไปใช้ในการเรียนการสอนทางไกล สามารถน�ำไปใช้ได้ใน 3 ลักษณะคือ
- เป็นสว่ นเสริม (Supplementary) เพื่อใช้เป็นส่ือเสริมจากสื่อหลัก โดยเป็นการเสริมในบางส่วน
ท่ีส่ือหลักไม่สามารถท�ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ หรือเป็นการเสริมให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์เพ่ิมข้ึน