Page 84 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 84
1-74 สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
3) การเข้าสู่สังคมออนไลน์ท�ำให้ผู้สอนเป็นส่วนหนึ่งในสังคมของผู้เรียน ช่วยให้ผู้สอนมีโอกาสได้
ใกลช้ ดิ กบั ผเู้ รยี นมากขน้ึ ทำ� ใหผ้ สู้ อนไดเ้ รยี นรพู้ ฤตกิ รรมการเรยี นของผเู้ รยี นไดด้ ขี น้ึ จงึ สามารถกำ� กบั ตดิ ตาม
และให้ความช่วยเหลือการเรียนของผู้เรียนได้ตลอดเวลา
4) สังคมออนไลน์มีลักษณะเป็นสังคมท่ีติดต่อเช่ือมโยงสัมพันธ์กัน เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
ดังนั้น การเข้าใช้งานส่ือสังคมออนไลน์จะช่วยให้ผู้สอนได้เรียนรู้และแบ่งปันประสบการณ์กับผู้อื่น สิ่งเหล่านี้
จะช่วยให้ผู้สอนสามารถน�ำความรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ ที่ได้มานี้ มาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาปรับปรุง
การสอนของผู้สอนให้มีประสิทธิภาพดีย่ิงข้ึน
สำ� หรับผู้เรียนน้ัน การใชส้ อ่ื สังคมออนไลนใ์ นการเรยี นจะช่วยให้
1) ผู้เรียนใกล้ชิดกับผู้สอนมากขึ้น นอกจากน้ัน การสื่อสารผ่านส่ือสังคมออนไลน์จะช่วยให้ผู้เรียน
มั่นใจและกล้าท่ีจะปรึกษาและสอบถามปัญหาต่าง ๆ จากผู้สอนมากกว่าตอนอยู่ในชั้นเรียน
2) รู้จักใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้องและมีประโยชน์ มิใช่ใช้เพ่ือความสนุกสนานแต่เพียงอย่างเดียว
3) ผู้เรียนรู้จักและฝึกฝนการท�ำงานเป็นทีม รู้จักการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ซ่ึงเป็นทักษะ
ที่ส�ำคัญของการเรียนในศตวรรษท่ี 21
4) พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลและพัฒนาทักษะในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
5) เรียนรู้การเผยแพร่และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ซ่ึงเป็นพื้นฐานในการสร้างสังคมแห่ง
การเรียนรู้
ทรพั ยากรการศกึ ษาแบบเปดิ (Open Educational Resources: OER)
ทรพั ยากรการศกึ ษาแบบเปดิ หมายถงึ ทรพั ยากรทางการศกึ ษาใด ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ ตำ� รา สอ่ื มลั ตมิ เี ดยี
สตรมี มง่ิ วดิ โี อ (streaming video) เลริ น์ นง่ิ ออปเจค็ (learning object) หรอื วสั ดกุ ารศกึ ษาอนื่ ๆ ทอี่ อกแบบ
หรือผลิตขึ้นมาเพ่ือใช้ในการเรียนการสอน และน�ำมาจัดเก็บไว้ในเว็บไซต์เพื่อให้ผู้สอนและผู้เรียนน�ำเอา
ไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษาได้โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งปันทรัพยากรการศึกษา
ท่ีมีคุณภาพให้กับสังคม ให้สามารถเข้าถึงได้อย่างอิสระ ทุกท่ี ทุกเวลา สอดรับกับแนวคิดของการศึกษา
ทางไกลซึ่งเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต (lifelong learning)
จุดเด่นของทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดท่ีไม่เหมือนกับส่ือการศึกษาทางไกลอ่ืน ๆ คือ นอกจาก
จะอนุญาตให้ใช้ได้ฟรีแล้วผู้น�ำไปใช้ยังสามารถน�ำเอาสื่อเหล่านั้นไปดัดแปลงแก้ไขได้อีกด้วย การดัดแปลง
แก้ไขที่นิยมท�ำกันมีอยู่ 3 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ
1) การน�ำไปรวมกัน (mixing) เป็นการน�ำส่ือจากโออีอาร์ (OER) มารวมกันแล้วเพ่ิมเติมเนื้อหา
เพ่ือให้กลายเป็นสื่อใหม่ ทั้งน้ี เน่ืองจากสื่อท่ีน�ำมาใช้จากโออีอาร์น้ันมักจะไม่ได้ออกแบบมาโดยมีเนื้อหาสาระ
ครบถ้วนตามท่ีเราต้องการใช้สอน วิธีนี้นิยมใช้กับสื่อที่เรียกว่าเลิร์นนิ่งออปเจ็ค (learning object) โดยน�ำ
เอาเลิร์นนิ่งออปเจ็คที่เป็นหน่วยการเรียนเล็ก ๆ มารวมกันเข้าเป็นสื่อใหม่
2) การดัดแปลง (adaption) เป็นการดัดแปลงเพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน เช่น น�ำโออีอาร์ภาษา
อังกฤษมาแปลเป็นภาษาไทย หรือดัดแปลงเน้ือหาสาระบางส่วนให้เหมาะสมกับบริษัทที่ต้องการจะใช้ เป็นต้น