Page 40 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 40
2-30 สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
3. การเตรียมของจรงิ และของตวั อยา่ งเพื่อใชใ้ นการน�ำเสนอแนวคดิ ทางชวี วทิ ยา
3.1 เตรียมตามวัตถุประสงค์ในการน�ำเสนอแนวคิดทางชีววิทยา เช่น (1) การน�ำเสนอแนวคิด
เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ก็ต้องให้ผู้เรียนไปศึกษาในสถานที่จริงท่ีของจริงนั้นอยู่
ตามธรรมชาตินอกห้องเรียน ซึ่งครูผู้สอนสามารถเตรียมได้โดยการส�ำรวจหาสถานท่ีท่ีของจริงนั้นอยู่ แล้ว
วางแผนให้ผู้เรียนเข้าไปสังเกต โดยใช้เคร่ืองมือในการสังเกต เช่น กล้องส่องทางไกล แว่นขยาย เครื่องเขียน
หรืออุปกรณ์อ่ืน หรือ (2) การน�ำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้างของพืช อวัยวะของสัตว์ หรือกระบวนการ
ต่าง ๆ ในพืชและสัตว์ สามารถน�ำสิ่งมีชีวิตหรือช้ินส่วนของส่ิงมีชีวิตมาศึกษาในห้องเรียนได้ เช่น ใช้หัวใจหมู
เพ่ือศึกษาโครงสร้างภายในหัวใจ หลอดเลือด ลิ้นหัวใจ และผนังห้องหัวใจ เป็นต้น หรือใช้กิ่งไม้ที่ตัดให้
ติดใบและไม่ติดใบมาทดลองเพื่อสังเกตการคายน้ําของพืช เป็นต้น
3.2 สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กท่ีใช้เป็นพื้นฐานให้ผู้เรียนได้ศึกษาแนวคิดทางชีววิทยา เช่น แบคทีเรีย
ไฮดรา พลานาเรีย และพารามีเซียม ควรมีการเพาะเลี้ยงไว้ในห้องเพาะเล้ียงส่ิงมีชีวิตในโรงเรียนหรือสามารถ
ติดต่อขอรับบริการได้ท่ีหน่วยงานท่ีบริการ เช่น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
(ที่มา: http://www.accessify.com/visit?domain=biology.ipst.ac.th)
3.3 พชื ทใี่ ชเ้ ปน็ พน้ื ฐานใหผ้ เู้ รยี นศกึ ษาแนวคดิ ทางชวี วทิ ยา ควรมกี ารเพาะปลกู ไวใ้ นบรเิ วณโรงเรยี น
หรือเรือนเพาะช�ำ เพ่ือให้มีใช้เป็นส่ือของจริงทุกคร้ังท่ีมีการน�ำเสนอแนวคิดทางชีววิทยาท่ีจ�ำเป็น เช่น มอส
หวายทะนอย เฟิน สาหร่ายหางกระรอก ว่านกาบหอย ต้นชบา เป็นต้น
3.4 สัตว์ที่ใช้เป็นพ้ืนฐานให้ผู้เรียนศึกษาแนวคิดทางชีววิทยา ควรมีการเล้ียงไว้ในห้องเล้ียงสัตว์
ทดลองเช่น แมลงหวี่ ไส้เดือน ปลาหางนกยูง เป็นต้น ซ่ึงจ�ำเป็นต้องศึกษาเกี่ยวกับอาหาร ท่ีอยู่อาศัย และ
ต้องม่ันใจว่าจะไม่ทําอันตรายหรือนําโรคภัยมาสู่ผู้สอนและผู้เรียน
3.5 เตรยี มของจรงิ หรอื ของตวั อยา่ งใหแ้ สดงแนวคดิ ทตี่ อ้ งการน�ำเสนอใหช้ ดั ทสี่ ดุ เช่น (1) การออก
ไปสังเกตความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์นั้นต้องเห็นได้ชัดเจน หรือ (2) ก่ิงไม้ที่ตัด
มาเพ่ือให้ผู้เรียนศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการคายนํ้า กิ่งไม้ต้องสด และต้องเป็นก่ิงของต้นไม้ท่ีคายน้ําเร็ว
และมาก จึงจะสังเกตได้ชัด หรือ (3) หัวใจหมูที่จะใช้เพ่ือศึกษาโครงสร้างภายในหัวใจ หลอดเลือด ลิ้นหัวใจ
และผนงั หอ้ งหัวใจ ตอ้ งเลือกซอื้ หวั ใจทม่ี ีสภาพสมบูรณ์ทสี่ ุด ไมถ่ ูกตัดจนส่วนส�ำคัญขาดหายไป เปน็ ต้น หรอื
(4) การเพาะเลี้ยงพืชหรือสัตว์ที่ใช้ในการทดลองเพ่ือสังเกตทางชีววิทยา เช่น พืชโตเร็ว หรือแมลงหว่ี ท่ีใช้
น�ำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม จะต้องคัดเลือกสายพันธุ์ที่เป็นพันธุ์แท้ของ
ลักษณะต่าง ๆ เพ่ือให้ผู้เรียนทดลองแล้วสังเกตผลได้ถูกต้องชัดเจน
3.6 การเตรยี มสตั วใ์ หส้ ลบเพอื่ สงั เกตลกั ษณะภายนอก ต้องศึกษาชนิดและปริมาณของสารเคมีท่ีใช้
เพื่อท�ำให้สัตว์สลบ รวมทั้งเวลาท่ีสัตว์สลบท่ีพอเหมาะ เช่น การสลบแมลงหว่ีเพ่ือสังเกตลักษณะต่าง ๆ หรือ
การเตรียมสัตว์ให้ตายต้องเป็นไปตามจรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลอง ให้ตายโดยไม่ทรมาน เช่น การใช้แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ใส่ถุงพลาสติกท่ีใส่กบเอาไว้ 30 นาที เพื่อท�ำให้กบตายโดยไม่เสียเลือดและไม่มีเลือดคั่ง
อยู่ตามหลอดเลือด หรือท�ำให้กบสลบ/ตายโดยแช่ในน้ําแข็ง หรือนํ้าแข็งแห้ง