Page 57 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 57
ประวตั ศิ าสตร์ 2-47
3. ประชาธปิ ไตยรัฐสภาใต้ระบอบอาณานคิ ม
หลงั จากที่ เซิง งอ็ ก ทญั ถูกจบั กมุ ผสู้ นับสนุนเขาจานวนหน่ึงกห็ ลบหนีออกนอกประเทศและต้ัง
กลุ่มเขมรอิสระขึ้นเพื่อต่อสู้กับฝร่ังเศส เขมรอิสระกลุ่มหน่ึงที่พระตะบองนั้นได้รับการสนับสนุนทาง
การเงินและอาวธุ จากรัฐบาลไทยด้วย แต่หลังรัฐประหารโค่นล้มรัฐบาลหลวงธารงนาวาสวสั ด์ิ เมื่อวันท่ี 8
พฤศจิกายน 1947 การสนับสนุนของรัฐบาลไทยที่มีต่อเขมรอิสระก็ยุติลง ค่ายฝึกเขมรอิสระในประเทศ
ไทยถูกยกเลิก พลพรรคเขมรอิสระก็ยา้ ยเข้าไปในกมั พูชาโดยตั้งม่ันอยู่ตามแนวชายแดนและเคล่ือนไหว
ต่อต้าน รวมถึงปฏิบัติการโจมตีด้วยอาวุธต่อฝรั่งเศสและรัฐบาลกัมพูชาอยู่เนืองๆ (Thompson and
Adloff, 1953: 106-107; Reddi, 1971: 135)
เกียรติภูมิของฝร่ังเศสท่ีเสื่อมลงอย่างหนักในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพาและความอ่อนแอท้ัง
ทางเศรษฐกิจและทางการทหารภายหลังสงคราม ประกอบกับการท่ีสหรัฐอเมริกาไม่สนับสนุนให้
เจ้าอาณานิคมกลับไปปกครองอาณานิคมดังท่ีเคยเป็นมาในช่วงก่อนสงคราม รัฐบาลรักษาการของ
ฝรั่งเศสจึงออกมาประกาศในวันที่ 24 มีนาคม 1945 ว่าจะจัดการปกครองอินโดจีนฝร่ังเศสในรูปแบบ
สหพนั ธรัฐอนิ โดจนี ซง่ึ ประกอบด้วยรฐั 5 รฐั คือ ตงั เกยี๋ อนั นมั โคชนิ จีน ลาว และกัมพชู า โดยสหพันธรฐั
อนิ โดจนี จะอยใู่ ต้ร่มธงของสหภาพฝรง่ั เศส รัฐต่างๆ ในสหพันธรฐั อนิ โดจนี จะมสี ิทธใิ นการปกครองตนเอง
ในระดับที่เพ่มิ ข้ึน
หลังการลงนามในข้อตกลงชั่วคราว (Modis vivendi) ระหว่างกัมพูชากับฝร่ังเศสเม่ือวันที่ 7
มกราคม 1946 กมั พชู ากไ็ ด้สิทธิปกครองตนเอง ยกเวน้ ด้านการเงนิ การคลงั การป้องกนั ประเทศ และการ
ต่างประเทศ นอกจากน้กี ษัตริย์กมั พชู าก็ยงั คงตอ้ งมที ่ปี รึกษาชาวฝร่ังเศสอยปู่ ระจาพระองค์และทป่ี รึกษา
สามารถเข้าร่วมประชุมคณะรัฐมนตรีได้ด้วย รัฐมนตรีต้องมีท่ีปรึกษาชาวฝรั่งเศสคอยกากับอย่างน้อย
หน่ึงคน และในหน่วยงานระดับกรมก็มีชาวฝรั่งเศสทาหน้าท่ีเป็นทีป่ รึกษาทางเทคนิคด้วย (แชนด์เลอร์,
2557: 257-258; Reddi, 1971: 177) ในสายตาของนักชาตินิยมจานวนหนึ่ง สิ่งนี้หมายความว่าฝรั่งเศส
กลบั เขา้ มาสถาปนาอานาจในกมั พชู าอีกครั้งซ่ึงเป็นส่ิงทนี่ ักชาตินยิ มเหลา่ น้ันไม่ปรารถนาท่ีจะเห็น
ในวันที่ 1 กันยายน 1946 ก็มีการเลือกต้ังสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญซ่ึงทาหน้าท่ีเป็นสภานิติ
บัญญัติด้วย ผลของการเลือกต้ังคือพรรคประชาธปิ ไตยได้ 50 ที่น่ัง จากท้ังหมด 67 ที่นั่ง พรรคเสรภี าพ
ได้ 14 ท่นี ั่ง อีก 3 ทีน่ ่ังเป็นผูส้ มัครอสิ ระ แนวทางของพรรคประชาธิปไตยซง่ึ เปน็ พรรคของกลมุ่ ปัญญาชน
คนหนมุ่ สาวทต่ี อ้ งการใหก้ ัมพูชามรี ะบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยทมี่ กี ษตั รยิ ์อยู่ใตร้ ฐั ธรรมนูญน้ัน
ไม่ตรงกับความต้องการของชนชั้นนา พรรคประชาธิปไตยจึงประสบปัญหาในการต้ังรัฐบาลเมื่อรัฐบาล
เดมิ ไมย่ อมลาออกกระท่ังการเลอื กตั้งผา่ นไป 4 เดือน (Tully, 2002: 415-419)
ในวันที่ 7 พฤษภาคม 1947 ก็มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญท่ีคณะพรรคประชาธิปไตยลงมือร่าง
แทนท่ีจะทาหนา้ ทเี่ ป็นเพียงเปน็ ทีป่ รึกษาของกษัตรยิ ์ รัฐธรรมนูญฉบับดงั กล่าวให้อานาจแก่กษัตริย์นอ้ ย