Page 54 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 54

2-44 พนื้ ฐานสงั คมและวฒั นธรรมเขมร

       ภาพที่ 2.7 นครวดั จาลองในงานแสดงอาณานคิ มนานาชาติ (Exposition coloniale internationale)
               ทก่ี รุงปารีส ค.ศ. 1931

 ทีม่ า: http://www.capsurlemonde.org/cambodge/angkor/exposition-coloniale.html

       การเช่ือมโยงตนเองเข้ากับความรุ่งโรจน์ของพระนครจะกลายมาเปน็ ฐานคิดของความเคลื่อนไหว
ต่อตา้ นฝรั่งเศส ใน ค.ศ. 1936 กป็ รากฏหนงั สือพมิ พร์ ายปักษ์ภาษาเขมรทใ่ี ชช้ อื่ “นครวดั ” ขึ้นในกัมพชู า
เซิง ง๊อก ทัญ ซ่ึงเป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งน้ันเป็นสมาชิกของพุทธศาสนบัณฑิตย์ซ่ึงเป็นสถาบันทาง
วชิ าการทฝ่ี ร่ังเศสตั้งข้นึ เพอ่ื รวบรวมและเผยแพรง่ านเขียนทางพทุ ธศาสนา ภาษา และอักษรศาสตร์เขมร
หนังสือพิมพ์นครวัดมบี ทบาทอย่างสาคัญในการเรยี กรอ้ งให้เกดิ การปฏิรูปข้ึนในกมั พูชา ด้วยน้าเสียงของ
การต่อต้านระบอบอาณานิคม ประเด็นสาคัญท่ีหนังสือพิมพ์นครวัดเรียกร้องให้มีการปฏิรูปคือ การให้
ชาวเขมรมีส่วนร่วมมากข้ึนในระบบเศรษฐกิจ การปฏิรูประบบการศึกษา ความเท่าเทียมกันในระหว่าง
ชาวฝรั่งเศสและชาวเขมร นอกจากน้ียังคัดค้านการครองตาแหน่งในระบบปกครองของฝรั่งเศสของ
ชาวเวียดนาม หนังสือพิมพ์นครวัดจะมีอิทธิพลทางความคิดต่อคนจานวนไม่น้อยโดยเฉพาะในหมู่
ปัญญาชน นักเรียนนักศึกษา และพระสงฆ์หัวปฏิรูป (แชนด์เลอร์, 2557: 245-246) ควรกล่าวด้วยว่า
ใน ค.ศ. 1952 พล พต ซ่งึ ในเวลาตอ่ มาจะเป็นผ้นู าเขมรแดงไดเ้ ขียนบทความโดยใชน้ ามปากกาวา่ “เขมร
เดิม” แสดงทัศนะว่าเขมรเดิมนั้นเป็นคนที่ “มีผิวคล้า มีจิตใจบริสุทธ์ิ เขาเป็นลูกของแผ่นดิน และเลือด
ของผูส้ ร้างพระนครไหลเวยี นอยใู่ นเสน้ เลอื ดของเขา” (Edwards, 2007: 1-2)
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59