Page 50 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 50

2-40 พื้นฐานสังคมและวฒั นธรรมเขมร

เร่ืองที่ 2.3.1

การปกครองในระบอบอาณานิคม

1. จากเมอื งสองฝ่ ายฟ้ าสู่รัฐในอารักขา

       เมอื่ สมเด็จพระหรริ ักษฯ์ เสดจ็ สรุ คตในเดือนตุลาคม 1860 กเ็ กดิ ความขดั แยง้ ระหวา่ งเจ้านายและ
ขุนนางกัมพูชา กลุ่มหนึ่งนาโดยพระนโรดมพรหมบริรักษ์ที่พระมหาอุปราช อีกกลุ่มหนึ่งนาโดยพระองค์
เจ้าวัตถาที่เพิ่งกลับมาจากกรุงเทพฯ ทั้งสองเป็นโอรสในสมเด็จพระหริรักษ์ฯ พระองค์เจ้าวัตถาถูกบีบ
บังคับให้หนีจากอุดงค์ในปลายเดือนมีนาคม 1861 และกลับเข้าไปพานักที่กรุงเทพฯ ตามเดิม ก่อนที่
สนองโสซ่ึงเป็นขุนนางที่สนับสนุนวัตถาจะกอ่ กบฏข้ึนและได้หัวเมืองราว 1 ใน 3 ของหัวเมืองทั้งหมดใน
กัมพูชาเวลาน้ันไว้ในอานาจ ในเดอื นกรกฎาคม 1861 พระนโรดมก็หนีออกจากอดุ งค์ไปยังพระตะบองซ่ึง
เวลาน้ันอยู่ในอานาจของสยาม จากน้ันก็เดินทางต่อเข้าไปกรุงเทพฯ ในเดือนกุมภาพันธ์ 1862 พระ
นโรดมกอ็ อกจากกรุงเทพฯ พร้อมด้วยกาลงั ทหารและอาวุธ เมือ่ ถึงเดอื นพฤษภาคมปีน้ัน กบฏสนองโสก็
ยุติลง

       เดือนสิงหาคม 1863 ผู้ว่าการโคชินจีนของฝรั่งเศสเดินทางเข้ามายังอุดงค์เพื่อเจรจาทาสนธิ-
สัญญากับพระนโรดม ซ่ึงในเวลาน้ันพระมหาอุปราชเป็นผู้สาเร็จราชการกรุงกัมพูชา ผลของสนธิสัญญา
ฉบับน้ีทาให้กัมพูชาอยู่ในอารักขาของฝรั่งเศส (Dubois and Terrier, 1902: 875) เม่ือพระนโรดมแจ้ง
เรื่องทาสัญญาเขา้ มาในกรุงเทพฯ ราชการสยามกท็ าหนงั สอื ประทว้ งไปยังราชการฝร่ังเศสพร้อมกบั เกล้ีย
กล่อมให้พระนโรดมทาสัญญาอีกฉบับหน่ึงกับสยามเพื่อยืนยันว่ากรุงกัมพูชามีสถานะเป็นเมืองขึ้นกรุง
สยาม (Lagrée, 1883: 95-101) ดงั น้นั จึงกลา่ วได้ว่ากมั พูชามีสถานะเป็นเมืองสองฝ่ายฟ้าคือเปน็ เมืองข้ึน
ของสยามและฝร่ังเศส เมื่อมีการต้ังการราชาภิเษกพระนโรดมเป็นพระเจ้ากรุงกัมพูชาใน ค.ศ. 1864
ข้าหลวงสยามก็เชิญเครื่องกกุธภัณฑ์ออกไปร่วมการราชาภิเษกพร้อมด้วยกันกับราชการฝร่ังเศสและ
กัมพูชาก็ยังคงส่งบรรณาการเข้ามาให้กรุงเทพฯ อย่างท่ีเคยปฏิบัติมา กัมพูชาจะอยู่ในอานาจฝรั่งเศส
ฝ่ายเดียวเมื่อสนธิสัญญาสยาม-กัมพูชาถูกยกเลิกไปด้วยผลของสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. 1867
(Lagrée, 1883: 121-123)

       ชว่ งเวลาน้รี าชการอาณานิคมฝรั่งเศสกาลังให้ความสนใจกบั การสารวจแมน่ า้ โขงเพ่ือหาเส้นทาง
เข้าสู่ทางใตข้ องจนี การสารวจแม่น้าโขงเพ่ือหาเส้นทางนา้ ไปสเู่ มืองจีนเริ่มข้นึ ใน ค.ศ. 1866 โดยมี เออ-
เนสต์ ดูดารต์ เดอ ลาเกร (Ernest Doudart de Lagrée) ข้าหลวงฝร่ังเศสประจากัมพูชาคนแรกเป็น
หัวหน้าคณะสารวจแม่น้าโขง (La Mission d’exploration du Mékong) ซึ่งมีจุดหมายปลายทางท่ี
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55