Page 47 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 47
ประวตั ศิ าสตร์ 2-37
ราชาไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว สมเดจ็ พระอุทยั ราชาหนีไปยังเวียดนาม เมื่อเวต้ โี ต้กลับในปรี ุ่งข้ึน กองทัพกรุงเทพฯ
ก็เผาพนมเปญและกวาดต้อนผู้คนถอยร่นไปยังพระตะบอง ทิ้งซากปรักหักพังและร้างไร้ผู้คนของ
พนมเปญไวเ้ บอ้ื งหลงั
หลังจากขับไลไ่ ทยออกไปจากพนมเปญ เวียดนามก็กระชบั อานาจของตนในกมั พชู าด้วยการเขา้
มาปกครองกัมพูชาโดยตรงใน ค.ศ. 1835 และนานโยบายกลืนกลาย (Assimilation policy) หรือกล่าว
ได้อกี อยา่ งว่าเป็นนโยบาย “ทาให้เปน็ เวยี ดนาม (Vietnamization)” เขา้ มาใชใ้ นกมั พูชา นโยบายนโ้ี ยก
คลอนรากเหง้าทางวัฒนธรรมของชาวกัมพูชาซ่ึงเป็นของไม่มีอารยะในทัศนะของเวียดนาม พระราชพิธี
ราชาภิเษกพระราชธดิ าในสมเดจ็ พระอุทยั ราชาพระนามว่าพระองค์เจา้ หญิงมีขึ้นเปน็ พระเจา้ กรุงกมั พชู า
ใน ค.ศ. 1835 จึงต้องทาตามอย่างแบบธรรมเนียมท่ีปฏบิ ัติกัน ณ กรุงเว้ การบูชาบรรพกษัตรยิ ์กต็ ้องทา
ตามอย่างเวียดนาม การตั้งขุนนางก็ตั้งให้มีตาแหน่งตามแบบเวียดนามและต้องแต่งกายอย่างขุนนาง
เวียดนาม ชาวบา้ นก็ต้องแต่งกายแบบเวยี ดนาม กนิ ข้าวดว้ ยตะเกียบ เปน็ ต้น (Wook, 2004: 129-159)
สงครามระหวา่ งสยามและเวียดนามซ่ึงเกดิ ขนึ้ ในกมั พชู าตัง้ แต่ ค.ศ. 1833 ยังคงยืดเย้ือยาวมาจน
จนยุติลงใน ค.ศ. 1847 ด้วยความเบ่ือหน่ายของทั้งไทยและเวียดนาม ปีรุ่งขึ้นพระองค์ด้วงก็ได้รับ
สถาปนาเป็นพระเจ้ากรุงกัมพูชาทรงพระนามวา่ สมเด็จพระหริรักษ์รามาอิศราธิบดี เป็นการเริ่มยุคสมัย
แบบจารตี ทีส่ งบสขุ และรงุ่ เรืองของกัมพชู า
นอกไปจากพระราชกรณียกจิ ทางการพระศาสนา การพระราชพิธตี ่างๆ การชาระกฎหมาย การตั้ง
ระเบียบยศตาแหน่งขุนนาง กับทั้งการชาระพงศาวดาร ซ่ึงเป็นเคร่ืองหมายของการฟื้นฟูราชอาณาจักร
ในสมัยนี้ยังเป็นจุดเริ่มต้นของการติดต่อสัมพันธ์กับฝรั่งเศสซ่ึงในเวลาต่อมาอยู่ในฐานะผู้ให้อารักขาแก่
กัมพูชา การติดต่ออย่างเป็นทางการระหว่างกัมพูชากับฝรั่งเศสเริ่มขึ้นในตอนกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19
เมื่อสมเด็จพระหริรักษ์รามาอิศราธิบดีมีพระราชสาส์นกับท้ังของเครื่องบรรณาการไปถวายพระจักรพรรดิ
นโปเลียนที่ 3 แห่งฝรั่งเศสใน ค.ศ. 1853 แต่พระราชสาส์นคร้ังน้ันไม่ได้รับการตอบรับ ในปลาย ค.ศ.
1856 สมเด็จพระหรริ กั ษ์ฯ ก็ส่งพระราชสาส์นไปยังพระจกั รพรรดินโปเลียนที่ 3 อีกคร้ังหน่ึง เหตุการณน์ ี้
เกิดข้ึนก่อนท่ีเวียดนามจะไม่ยอมทาสญั ญาทางการค้าและศาสนากับฝรั่งเศสเมื่อทูตฝรั่งเศสเดินทางเข้า
ไปในเวียดนามเม่ือ ค.ศ. 1857 และไม่ยอมยุติการเบียดเบียนบาทหลวงฝรั่งเศสในเวียดนามอันนามาซ่งึ
ความตึงเครียดและความขัดแย้งท่ีขยายตัวขึ้นจนราชการฝร่ังเศสส่งกองเรือเข้าโจมตีตอนกลางของ
เวยี ดนามใน ค.ศ. 1858 (Osborne, 1969: 27-30)