Page 42 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 42

2-32 พน้ื ฐานสังคมและวัฒนธรรมเขมร

เร่ืองท่ี 2.2.2

สมยั หลงั พระนคร

1. จตมุ ขุ กบั ราชธานีสมยั หลงั พระนคร

       แม่น้าจตุมุข (แปลว่า แม่น้าส่ีหน้า) เป็นบริเวณท่ีแม่น้าโขงซ่ึงไหลมาจากทางตอนเหนือของ
กัมพูชามาบรรจบกับแม่น้าสาบ (Sap River) ท่ีไหลมาจากทะเลสาบ (The Great Lake) ฝั่งขวาของ
บริเวณที่แม่น้าทั้งสองสายไหลมาบรรจบกันในปัจจุบันเป็นที่ต้ังของพระบรมราชวังจตุมุขมงคล กรุง
พนมเปญ จากน้ันแม่น้าก็ไหลแยกจากกันไปเป็นสองสายสายบนยังคงเรียกแม่น้าโขงส่วนสายล่างเรียก
แม่น้าบาสกั (Bassac River)

       บริเวณจตุมขุ ต้ังอยู่ในทาเลทเ่ี ปน็ จุดเช่ือมต่อของเสน้ ทางและเครอื ข่ายทางการค้าในกัมพูชาและ
ดนิ แดนใกลเ้ คยี ง โดยสามารถแบง่ พ้ืนท่ที อี่ ยู่แวดลอ้ มจตุมุขได้ 4 บริเวณคือ

       1) บริเวณแม่นา้ โขง (หรือทะเลธม) และหัวเมอื งลาว หมายถึงบริเวณสองฝ่ังแม่น้าโขงตั้งแตต่ อน
เหนือของบริเวณจตมุ ุขข้ึนไปถึงในราวสตึงเตรง ชุมชนหรือเมืองสาคัญในบริเวณนกี้ ็คือ โฉลง ตะโบงฆมมุ
กระแจะ สมบก สมบูรณ์ สตรึงเตรง และจากถัดจากสตึงเตรงตามลาน้าโขงข้ึนไปก็จะเป็น เมืองโขง
จาปาสัก และหัวเมืองอื่นๆ ของลาวซึ่งเป็นบริเวณที่อุดมสมบูรณ์และมีประชากรหนาแน่น นอกจากน้ี
จากสตึงเตรงตามเซกองและเซซานข้ึนไปทางตะวนั ออกเฉียงเหนือและตะวันออกก็จะเปน็ หวั เมอื งข่าและ
คนกลุม่ น้อยอื่นๆ ซ่งึ เป็นแหลง่ ของปา่ ทสี่ าคัญ

       2) บริเวณสามเหล่ียมปากแม่น้าโขง หมายถึงบริเวณตั้งแต่จตุมุขลงไปตามแม่น้าโขงและแม่น้า
บาสักเร่ือยไปจนออกทะเลจนี ใต้ มีเมืองสาคัญคือ ละเวียแอม ไพรแวง บาพนม บาที และเจิวด๊ก ในช่วง
คริสต์ศตวรรษท่ี 15 และ 16 น้ันสามเหลี่ยมปากแม่น้าโขงในเขตเวียดนามตอนใต้ในปัจจุบันเป็นดินแดน
ในอานาจของกัมพชู า

       3) บริเวณรอบทะเลสาบ มหี ลายเมืองทสี่ าคญั คือ บรบิ ูรณ์ โพธสิ ตั ว์ พระตะบอง เสยี มราฐ เมอื ง
เหลา่ น้ตี ง้ั อยรู่ ิมลาน้าที่ไหลลงทะเลสาบ การติดตอ่ กบั จตมุ ขุ จึงทาได้โดยทางน้าโดยเดินเรอื ผา่ นทะเลสาบ
ขน้ึ มาหรอื ใชเ้ ส้นทางบก

       4) บริเวณหัวเมืองชายฝั่งทะเล กัมพูชาไม่มีแม่น้าสายหลักท่ีไหลลงสู่อ่าวไทย เส้นทางการค้า
การไหลผ่านของวัฒนธรรมตลอดจนการต้ังหลักแหล่งของชาวเขมรจึงเกาะอยู่ตามแนวลาน้าโขงและ
ลานา้ สาขาเปน็ หลัก พ้นื ทีร่ าบระหวา่ งภูเขาชายฝง่ั ทะเลจึงเป็นพื้นทท่ี ่มี ีผู้คนต้ังถ่นิ ฐานอยนู่ อ้ ย
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47