Page 39 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 39

ประวตั ศิ าสตร์ 2-29

พระชนม์ของพระเจ้าสูรยวรมันที่ 1 (Hall, 1979: 425; Hall and Whitmore, 1976: 308) ผู้ครองราชย์
สืบมาเลือกทจี่ ะสนใจกับเรื่องภายในอาณาจักรมากกวา่ การเสรมิ สร้างการค้ากบั ดินแดนอืน่ ๆ ในภมู ิภาค
(Hall, 1979: 425)

       ในรัชสมยั ของพระเจ้าสรู ยวรมันที่ 2 (ครองราชย์ 1113–1150) กัมพูชาก็กลับมาให้ความสนใจกับ
การค้าระหว่างภูมิภาคอย่างมากอีกคร้ังหน่ึง ทรงมีกองเรือของพระองค์เองสาหรับทาการค้ากับจีน และ
จารึกพิมานอากาศในรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (ครองราชย์ 1181–1218) ก็มีท่ีกล่าวถึงธงท่ีทาจาก
ผา้ ไหมของจีน ซึ่งพอจะแสดงใหเ้ ห็นถึงความสัมพันธ์ทางการค้าท่ีมีระหวา่ งกนั นอกจากนี้แล้วกัมพชู าใน
สมัยน้ียงั พยายามทีจ่ ะสถาปนาอานาจเหนือคอคอดกระอีกครงั้ ด้วย (Hall and Whitmore, 1976: 317)

5. ความเสื่อมของอาณาจกั รพระนคร

       อาณาจักรพระนครรุ่งโรจน์ถึงขีดสุดตามอย่างรูปแบบวัฒนธรรมของตนเองเป็นคร้ังสุดท้ายใน
รชั สมยั ของพระเจา้ ชัยวรรมันท่ี 7 กอ่ นท่ี “ความเสอื่ ม” จะรกุ คืบเขา้ เกาะกมุ อาณาจักรแหง่ นี้ ตามมาด้วย
การละทิ้งเมืองพระนครหลวง (นครธม) และการลงไปต้ังศูนย์กลางอานาจแห่งใหม่ในบริเวณจตุมุขทาง
ตะวนั ออกเฉยี งใตข้ องศูนยอ์ านาจเดิม

       นักวิชาการอธิบายว่า เหตุของความเส่ือมของอาณาจักรพระนครนั้นมี 3 ข้อคือ ปัญหาทาง
เศรษฐกิจ การเปลี่ยนมานับถือพุทธศาสนาเถรวาท นิกายลังกาวงศ์ และความล่มสลายของระบบการ
จดั การนา้ อนั เน่ือง มาจากการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ

       ปัญหาทางเศรษฐกิจเกิดขึ้นจากการก่อสร้างปราสาทหินขนาดใหญ่จานวนมากพร้อมๆ กัน
โดยเฉพาะในรัชสมัยของพระเจ้าชยั วรมันที่ 7 ทาให้ต้องระดมทรัพยากรและกาลังคนจานวนมหาศาลไป
เพ่ือการก่อสร้างและการดแู ลรักษาปราสาทหินเหลา่ นนั้ เช่น ปราสาทพระขรรค์ ณ เมืองพระนคร แต่ถ้า
อาณาจักรพระนครอ่อนแอลงอันเนื่องมาจากปัญหาทางเศรษฐกิจเช่นว่า เหตุใดอาณาจักรพระนครจึง
ยังดารงอยู่มาได้อีกศตวรรษกว่าก่อนที่จะเสียเมืองให้แก่อยุธยาใน ค.ศ. 1431 (Briggs, 1948) จึงมี
คาอธบิ ายว่า เป็นไปได้วา่ การเปลี่ยนคตคิ วามเช่ือทางศาสนาจากศาสนาพราหมณ์-ฮินดูและพทุ ธศาสนา
มหายานมาเป็นพุทธศาสนาเถรวาท นิกายลังกาวงศ์ จะทาให้เงื่อนไขของปัญหาทางเศรษฐกิจลดลงซึ่ง
เป็นผลใหอ้ าณาจกั รพระนครยังคงดารงอย่ไู ด้สบื มาอกี ระยะหน่ึง

       ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าพุทธศาสนาเถรวาท นิกายลังกาวงศ์เข้ามาในกัมพูชาเม่ือใด แต่อยู่
ในช่วงคร่ึงหลังของครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 12 ถึงคร่ึงแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 13 และได้รับความนับถือศรัทธา
โดยเร็วจากไพร่บ้านพลเมือง การเปลี่ยนแปลงคติความเช่ือทางศาสนาเช่นว่านี้ทาให้ระเบียบแบบแผน
ต่างๆ ทางการเมืองการปกครองเปลี่ยนไป กษัตริย์ท่ีมีฐานะประดุจเทพเจ้ากลายมาเป็น “ผู้มีบุญ”
มากกว่าคนอื่นใดในอาณาจักร ความเรียบง่ายของชีวิตภิกษุสงฆ์ทาให้ชาวบ้านมีภาระหน้าท่ีในการ
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44