Page 40 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 40

2-30 พนื้ ฐานสงั คมและวัฒนธรรมเขมร

ปรนนิบัตินักบวชน้อยลง อารามท่ีสร้างด้วยไม้และอิฐก็เรียกร้องแรงงานและเวลาจากชาวบ้านน้อยลง
เช่นกัน กล่าวอีกอย่างหนึ่งคือพลังยึดเหน่ียวของสังคมท่ีวางอยู่บนความเชื่อแบบพราหมณ์-ฮินดูและ
พุทธมหายานที่เคยมีส่วนสร้างอาณาจักรอันย่ิงใหญ่สลายไป ซ่ึงทาให้อาณาจักรพระนครเสื่อมลง แต่การ
อธิบายแบบนก้ี ็มีข้อจากัดคอื ไมส่ ามารถอธิบายไดว้ า่ เหตุใดคติความเชอื่ แบบพทุ ธศาสนาเถรวาททเ่ี พิม่ พลงั
ยึดเหนี่ยวทางสังคมและพลังทางการเมืองให้แก่อยุธยากลับไม่ทาให้เกิดสภาวการณ์เดียวกันในกัมพูชา
(แชนด์เลอร์, 2557: 112) ข้อจากัดอีกประการหนึ่งของคาอธิบายแบบนี้คือ เป็นคาอธิบายท่ีขัดกับ
คาอธิบายที่ว่าการเปลี่ยนมานับถือพุทธศาสนาเถรวาทนิกายลังกาวงศ์อาจทาให้เงื่อนไขของปัญหาทาง
เศรษฐกจิ ลดลงซ่งึ เปน็ ผลให้อาณาจกั รพระนครยงั คงดารงอยู่ได้สบื มา

       คาอธิบายล่าสุดเรื่อง “ความเส่ือม” ของอาณาจักรพระนครคือ ความล่มสลายของระบบการจัด
การน้า อันเนื่องมาจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Lustig et al., 2018; Gundersen, 2015;
Buckley et al., 2010; Stone, 2006) โดยในราวกลางถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 เกิดภาวะแห้งแล้ง
ติดต่อกันข้ึนในกัมพูชา (ซ่ึงเป็นช่วงเวลาเดียวกันกับที่ความสนใจในกิจกรรมการค้านานาชาติของ
อาณาจกั รพระนครกาลงั เพิ่มสงู ข้นึ ) หลงั จากท่ภี าวะแหง้ แล้งสิน้ สุดลง เมืองพระนครก็ประสบภาวะฝนตก
มากผิดปกติติดต่อกันหลายปี ทาให้เกิดน้าท่วมอย่างรุนแรงในระดับท่ีระบบการจัดการน้าที่มีอยู่ไม่
สามารถรับมือได้ ภาวะน้าท่วมที่เกดิ ข้ึนทาให้เกิดการชะล้างพังทลายของดินขนานใหญ่ ตะกอนดินทถ่ี ูก
น้าซัดและพัดพามาตกทับถมในบารายและคูคลองทาให้บารายและคูคลองต้ืนเขิน ไม่สามารถจัดการน้า
ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพเช่นเคย ผลผลติ ทางการเกษตรกล็ ดลง

       หลักฐานหน่ึงท่ีแสดงให้เห็นถึงความพยายามในการรับมือกับภัยแล้งคือ การปรับแปลงและ
เปล่ียนช่องทางเข้าออกของน้าในบารายตะวันออกเพ่ือผันน้าเข้าไปในบาราย (Buckley et al., 2010:
6749) ส่วนหลักฐานท่ีแสดงถึงความเส่ือมสลายของระบบการจัดการน้าเห็นได้จากในแม่น้าเสียมราฐซ่งึ
ไม่ใช่ทางน้าธรรมชาติแต่เป็นทางน้าที่มนุษย์สร้างข้ึนในสมัยพระนคร เพ่ือใช้ผันน้าจากทางตอนเหนือ
ของเมืองพระนครลงสู่ทะเลสาบที่อยู่ทางใต้ (Kummu and Lustig, 2005) ปัจจุบันทอ้ งน้าบางตอนของ
แม่น้าเสียมราฐมีกรวดและทรายหยาบทับถมปะปนกันสูงราว 1.4 เมตรโดยไม่มีการแยกช้ัน ซ่ึงแสดงให้
เห็นว่าเกดิ จากการทบั ถมอย่างฉับพลนั ทันใด การตรวจสอบอายุใบไม้และเศษซากพืชขนาดใหญ่อ่ืนๆ ท่ี
พบในบริเวณท่ีมีการทับถมของกรวดและทรายละเอียดพบว่ามีอายุอยู่ในราว ค.ศ. 1270-1430 ทาให้มี
ความเป็นได้ว่าการทับถมดังกล่าวเกิดขึ้นจากเหตุการณ์น้าท่วมเพียงคร้ังเดียวในตอนปลาย คริสต์-
ศตวรรษท่ี 14 (Buckley et al., 2010: 6749)

       กล่าวโดยสรุป ความเปลี่ยนแปลงของอาณาจักรพระนครท่ีเกิดขนึ้ ในคร่ึงหลังของคริสต์ศตวรรษ
ที่ 14 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษท่ี 15 คือ ความเสื่อมประสิทธิภาพของระบบการจัดการน้าซ่ึงผลักให้ชาวเขมร
ละท้ิงเมืองพระนคร และมีแรงดงึ ดดู จากความเฟอ่ื งฟูของการค้านานาชาติใหล้ งมาตงั้ ศูนย์กลางการเมือง
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45