Page 45 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 45

ประวตั ศิ าสตร์ 2-35

       ราวทศวรรษที่ 1510 เป็นต้นมา บันทึกของชาวตะวันตกให้ภาพที่ตรงกันว่ากัมพูชาเป็นเมืองท่าท่ี
คึกคัก สินค้าของกมั พูชามอี ยู่อย่างหลากหลายคอื ข้าว ปศุสัตว์ ปลา ไหม ฝ้าย ปา่ น ฝิ่น ไมห้ อม กามะถนั
เครอ่ื งหอม ครงั่ ขผ้ี ้ึง งาช้าง เงนิ ตะกวั่ ทองแดง ดบี กุ สารสม้ และอญั มณีตา่ งๆ ในปลายครสิ ต์ศตวรรษ
ที่ 16 มีงานเขียนของชาวยุโรปที่เขียนเกี่ยวกับพ่อค้าต่างชาติในละแวกและพนมเปญ ซึ่งถ่ินท่ีอยู่อาศัย
ของพ่อค้าต่างชาติเหล่านี้ในละแวกแยกออกเป็นเขต ได้แก่ เขตจีน เขตญ่ีปุ่น เขตอาหรับ เขตโปรตุเกส
และเขตของพอ่ คา้ จากหมูเ่ กาะอนิ เดียตะวันออก (ธิบดี บัวคาศรี, 2553)

       บริษัทอินเดียตะวันออกของดัตช์ (The Dutch East India Company, หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า
VOC ซ่ึงเป็นตัวย่อจากชื่อบริษัทในภาษาดัชท์วา่ Vereenigde Oostindische Compagnie) เข้าไปตั้ง
สถานีการค้าของตนในเมืองละแวกต้ังแต่ ค.ศ. 1620 แม้ว่าผลประกอบการจะไมเ่ ป็นท่ีน่าพอใจและปดิ ตวั
ลงใน ค.ศ. 1622 แต่สถานีการค้าที่เมืองละแวกของบรษิ ัทอินเดียตะวันออกของดตั ช์กเ็ ปิดข้ึนอีกสามครั้ง
ก่อนทีบ่ ริษทั จะถอนตวั ออกไปกมั พชู าใน ค.ศ. 1667 สนิ ค้าจากกมั พูชาทีบ่ รษิ ทั อนิ เดยี ตะวนั ออกของดัตช์
เข้ามาหาซ้อื โดยมากเปน็ อาหาร เช่น ขา้ ว หมเู ค็ม และนา้ มนั หมู เพอื่ ส่งไปที่ปัตตาเวยี (Kersten, 2003:
xv-xxxv)

3. กมั พูชาในระหว่างสยามและเวยี ดนาม

       อาณาจักรอยุธยาซ่ึงสถาปนาขึ้นในท่ีราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาใน ค.ศ. 1350 กลายมาเป็นศัตรูท่ี
คุกคามกัมพูชาอย่างชัดเจนเมื่อกองทัพอยุธยายกเข้ามายึดพระนครหลวงราชธานีได้ใน ค.ศ. 1431
(Briggs, 1948) แล้วสถาปนาเจ้านายอยุธยาขึ้นทรงราชย์ในพระนครหลวงน้ัน กัมพูชาจึงลงไปรวบรวม
ผคู้ นตั้งศูนยอ์ านาจแขง่ กบั อยธุ ยาทบ่ี รเิ วณจตมุ ขุ ซึง่ เปน็ ศูนย์อานาจท้องถิ่นท่ีมีมาแต่เดมิ บรเิ วณดังกลา่ ว
มีผู้คนตั้งถิ่นฐานหนาแน่น และเป็นเมืองท่ีมีส่วนรว่ มในกิจกรรมการค้าทางทะเลในภูมิภาคเอเชียตะวัน-
ออกเฉยี งใต้ท่ีกาลงั ขยายตัวอยา่ งรวดเรว็ ในชว่ งเวลาท่เี รยี กวา่ ยุคการค้า (The Age of Commerce) ใน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (แอนโทนี รีด, 2548) แม้ว่าในภายหลังจะขับอยุธยาออกไปจากพระนครหลวง
ได้ กัมพชู าก็ยังคงต้ังศนู ยอ์ านาจการปกครองอยทู่ ี่บรเิ วณจตุมุขมาโดยตลอดกระท่ังปัจจุบัน

       อยธุ ยายังคงพยายามทจ่ี ะสถาปนาอานาจเหนอื กมั พูชา ท้งั นอ้ี าจจะเพ่ือประโยชนท์ างการคา้ แต่
ไมป่ ระสบความสาเร็จ กระนัน้ กย็ ังคงมบี ทบาททางการเมอื งในราชสานักกมั พูชาในฐานะเปน็ ทพี่ กั พงิ และ
ซ่องสุมกาลังคนของเจ้านายกัมพูชาท่ีหลบหนีภัยทางการเมืองหรือความขัดแย้งทางการเมืองในกมั พูชา
อยุธยาคงบทบาทเช่นว่าแต่เพียงหน่ึงเดียวในกัมพูชามาจนครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษท่ี 17 ก็ปรากฏ
อานาจใหม่เข้ามาแข่งบทบาทกบั อยุธยา เมอ่ื ขุนนางตระกูลเหงวียนซึง่ ปกครองเวียดนามภาคใตข้ ยายตัว
ลงมาถึงบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้าโขง กับทั้งเข้ามามีบทบาทสาคัญในราชสานักกัมพูชา
(Tana, 1998; Khin Sok, 1991)
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50