Page 37 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 37

ประวตั ศิ าสตร์ 2-27

         ภาพท่ี 2.4 แผนทแ่ี สดงพนื้ ท่ี 3 พนื้ ทใี่ นโครงข่ายระบบการจดั การนา้ ของอาณาจกั รพระนคร

ทม่ี า: Fletcher et al., 2008a: 59.

       การศึกษาในระยะสองทศวรรษท่ีผ่านมาแสดงว่า กัมพูชาในสมัยพระนครเป็นสังคมพลังน้า
ระบบการจดั การน้านามาซึ่งการขยายตัวของเมือง ความมั่งค่ังของอาณาจักรและพระราชอานาจที่มั่นคง
ของกษัตริย์ แต่ส่ิงที่ยังเข้าใจกันไม่ดีพอคือ กัมพูชาในสมัยพระนครมีวิธีจัดการและควบคุมกาลังคนซึ่ง
เป็นทั้งแรงงานที่ก่อสร้างระบบการจัดการน้าและลงมือเพาะปลูก รวมไปถึงการก่อสร้างและบารุงรักษา
ปราสาทอย่างไร กล่าวเฉพาะในกรณีหลังนี้ จารึกพระขรรค์ ณ เมืองพระนครให้ภาพอันน่าตื่นตาต่ืนใจ
ของการระดมทรัพยากรและกาลังคนจานวนมหาศาลไป เพื่อการก่อสร้างและการดูแลรักษา ปราสาท
พระขรรค์ ณ เมืองพระนคร ซึ่งสร้างขึ้นในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 12 ในรัชสมัยของพระเจา้ ชัยวรมนั
ที่ 7 ตามท่ีมาในจารึกปราสาทพระขรรค์ ณ เมืองพระนครมีอาจารย์ผู้สอนศาสนา (“adhyápaka”
religious teacher) 1 คน ผู้ชว่ ยอาจารย์ 15 คน ดาบส (tapaś, ผูป้ ฏบิ ตั ธิ รรมในพทุ ธศาสนาขั้นอุกฤษฎ)์
338 คน พราหมณ์ไศวนิกาย 39 คน นักบวชเหล่านมี้ ีผู้ช่วย 1,000 คน นอกจากนย้ี ังมีการอุทศิ หญงิ ชาย
97,840 คน จาก 5,324 หมู่บ้าน ให้ทาหน้าที่ปรนนิบัติบูชารูปเคารพ และดูแลรักษาศาสนสถาน ถวาย
วัตถสุ ง่ิ ของจานวนมากให้แกเ่ ทพเจ้า และยงั มีการบชู าเทพเจา้ ทกุ วนั (Maxwell, 2007: 66-67, 78-79)
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42