Page 33 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 33
ประวตั ิศาสตร์ 2-23
รัฐไศเลนทร์ปรากฏขึ้นในชวากลางตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษท่ี 7 ก่อนท่ีจะมีอานาจเหนือรัฐอ่ืนๆ
ในชวากลางต้ังแต่ราวกลางคริสต์ศตวรรษท่ี 8 เป็นต้นมา ในช่วงเวลานี้ราชาไศเลนทร์เปลี่ยนมาใช้
คานาหน้าช่ือว่า “มหาราชา” เพ่ือให้ต่างจากและเหนือกว่าผู้ปกครองรัฐอื่นๆ ท่ีเป็นเพียง “ราชา” มหา
ราชาไศเลนทร์ซึง่ ควบคุมดินแดนตอนในอันเปน็ แหล่งผลิตข้าวทีส่ าคัญในเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้น
ทะเลยังสร้างสัมพันธ์ทางการแต่งงานกับกษัตริย์ศรีวิชัยซ่ึงควบคุมการค้าทางทะเลในเอเชียตะวันออก -
เฉียงใต้ (Hall, 2011: 122-126) อาณาจักรทั้ง 2 เป็นพันธมิตรที่แนบแน่นและมีความสัมพันธ์กันแบบ
พ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกัน (Zakharov, 2012: 21) ควรกล่าวด้วยว่านักวิชาการบางส่วนเห็นว่า
คาว่าซาบักในเอกสารอาหรับน้ันไม่ได้ หมายถึงเฉพาะเกาะชวาแต่เป็นคาที่ใช้เรียกหมู่เกาะของเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้โดยท่ัวไป และคาว่ามหาราชาก็ไม่ได้ใช้เรียกจาเพาะกษัตริย์แห่งซาบักเท่านั้น และ
คาว่า “ชวา” ในจารึกก็ไม่ได้หมายถึงเฉพาะเกาะชวา แต่ใช้เรียกรัฐมาเลย์บนคาบสมุทรมาลายาและ
บนเกาะสุมาตราด้วย นั่นหมายความว่าหากการโจมตีกัมพูชาในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 8 เกิดข้ึนจริง
กองเรือและกาลังพลที่ยกมาอาจจะมาจากศรีวิชัยบนเกาะสุมาตราหรือรัฐอื่นใดบนคาบสมุทรมลายูก็ได้
(Lowman, 2011: 124)
อย่างไรก็ดี ยังมีความเป็นไปได้อยทู่ ี่ “ชวา” จะไม่ได้ยกทัพไปโจมตีและยดึ ครองกัมพชู าในตอน
ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 8 เพราะหลกั ฐานท่ีมีอยู่ยังไม่หนักแนน่ พอทจี่ ะสรุปลงไปได้อย่างแนช่ ดั นอกจากน้ี
แล้วยังมีความเปน็ ไปได้วา่ ความทรงจาและความรับรู้ของผู้คนจะเปล่ียนไปตลอดเวลา (Lowman, 2011:
130) ดังจะเห็นได้จากจารึกสด๊กก๊อกธมและจารึกอีก 2 หลักที่กล่าวถึงการทาพิธีเพ่ือให้กัมพูชาพ้นจาก
อานาจของชวาคือ จารึกวัดสาโรง (K. 956, คริสต์ศตวรรษท่ี 10) และจารึกซับบาก (K. 1158, ค.ศ. 1066)
ที่ให้รายละเอียดที่ต่างกันไป กล่าวคือจารึกวัดสาโรง (บรรทัดที่ 14-16 ภาษาเขมร) กล่าวว่า “พระบาท
ปรเมศวรได้เสด็จไปท่ีฤทวล รับส่ังให้มรตาญศรีปรถิวินเรนทรทากัลยาณสิทธิขออย่าให้พระกัมพุชเทศ
ถูกชวาจับเลย” (กังวล คัชชิมา, 2550: 131) ไม่ได้กล่าวถึงการประดิษฐาน “กัมรเตงชคัต ต ราช” ณ
“มเหนทรบรรพต” (?) แต่กล่าวถึงการประกอบพิธี “กัลยาณสิทธิ” ท่ี “ฤทวล” ส่วนจารึกซับบาก
(บรรทัดที่ 31-32 ภาษาเขมร) ก็กล่าวถึงการสถาปนา “ส่วนพระพุทธโลเกศวรทงั้ 9 องค์” โดย “กาเสตง
ศรีสัตยวรรมะ...บนเขาอภัยคีรีเดิมเพ่ือมิให้ชวารุกรานย่ายีประเทศเขมร” (กังวล คัชชิมา, 2550: 129,
143; Chirapat, 1990: 12, 13)
ท่ีสาคัญยิ่งไปกว่าน้ันคือ มีความเป็นไปได้ท่ีเร่ืองการยกทัพไปโจมตีและยึดครองกัมพูชาของ
“ชวา” ในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 8 และการประดิษฐาน “กัมรเตง ชคัต ต ราช” ณ “มเหนทร-
บรรพต” ใน ค.ศ. 802 จะเป็นเรื่องปรัมปราท่ีถูกเสริมเติมแต่ง (ซ่ึงไม่ได้หมายความว่าเป็นการบอกว่า
เหตุการณ์น้ันเกิดข้ึนจริงหรือไม่) เหตุผลคือเพราะเหตกุ ารณ์ทัง้ หลายทเ่ี กดิ ขึน้ ในอดตี เหล่านน้ั “ถูกใชใ้ น
การส่ือความหมายเพ่ือสร้างความชอบธรรมหรือเพื่อยืนยันอัตลักษณ์ในกาลปจั จุบัน” (Lowman, 2011: