Page 34 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 34
2-24 พ้นื ฐานสงั คมและวัฒนธรรมเขมร
124) ดังท่ีจารึกสด๊กก๊อกธม นั้นบอกเล่าการประดิษฐานกัมรเตง ชคัต ต ราช ณ มเหนทรบรรพตเพ่ือ
ยืนยันสิทธิของศิวโสมผู้สบื เช้ือสายมาจากศิวไกวัลย์ราชปุโรหิตของพระเจ้าชัยวรมนั ท่ี 2 ซ่ึงในจารึกระบุ
ว่าได้รับอนุญาตจากหิรัณยทามะให้ประกอบพิธีเทวราช และ “ชวา” ในจารึกทั้ง 3 ถูกใช้เป็นภาพแทน
ของอานาจทางการเมืองที่คกุ คาม “ส่ิงที่บูรณภาพของกัมพชู าสามารถจินตนาการถึง” (Lowman, 2011:
130)
2. ลทั ธิเทวราชา
ยอช เซเดส์ เช่ือว่าพิธีประดิษฐาน “กัมรเตงชคัตตราช” คือการสถาปนาลัทธิเทวราชา หรือ
“ลัทธิกษัตริย์ผู้เป็นเทพ” ตามความเชื่อในลัทธิเทวราช กษัตริย์มีฐานะเป็น “เทพเจ้าที่ย่ิงใหญ่ท่ีสุดของ
กัมพูชาโบราณ” (เซเดส์, 2529: 49) และกษัตริย์จะบรรลุความเป็นเทพเจ้าก็โดยผ่านทางพิธีในลัทธิ
เทวราชานี้เองเซเดส์เสนอว่า “กัมรเตง ชคัต ต ราช” ซึ่งประดิษฐาน ณ มเหนทรบรรพตนั้นคือ ศิวลึงค์
อันเป็นที่สถิตของ “อัตตาส่วนใน” ของกษัตริย์ผู้เป็นเทพ ลอว์เรนซ์ ปาล์มเมอร์ บริกส์ (Lawrence
Palmer Briggs) เสนอเพิ่มเติมด้วยว่าการสถาปนาลัทธิเทวราชาเป็นจุดเร่ิมต้นของการปกครองโดย
เทวสิทธิ์ (divine right) ในกมั พชู า (Briggs, 1999: 89)
คาอธิบายข้างต้นเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในหมู่นักปราชญ์และนักวิชาการ แต่ก็มีผู้แสดง
ความไมเ่ ห็นด้วยในหลายประเดน็ เฮอรม์ านน์ กูลเก้ (Hermann Kulke) กลา่ วว่าวัฒนธรรมเอเชียจะไม่
ยกยอ่ งหรือสรา้ งตัวมนษุ ยใ์ ห้เสมอกบั เทพ นัน่ หมายความวา่ คาว่า “กมั รเตง ชคตั ต ราช” ซ่ึงแปลกนั วา่
“เทวราชา” “god-king” และ “dieu-roi” น้นั จึงไม่ได้แปลว่า “ราชาผ้เู ป็นเทพ” แตแ่ ปลวา่ “ราชาของ
เหล่าทวยเทพ” ซ่ึงได้แก่พระศิวะ นอกจากน้ีกูลเกย้ ังเชื่อวา่ วัตถุสาคัญในลัทธิเทวราชไม่ใช่ศิวลึงค์แต่คอื
เทวรูปสัมฤทธ์ิซ่ึงสามารถเคลื่อนย้ายไปประดิษฐานยังท่ีต่างๆ ได้ สอดรับกันอย่างดีกับความในจารึกที่
กล่าวถึงการเคล่ือนย้าย “เทวราชา” ไปยังเมืองต่างๆ หลังรัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันท่ี 2 (Kulke,
1978) ส่วนเอียน แมบเบท (Ian Mabbet) เชื่อว่าลัทธิเทวราชานั้นไม่ได้เป็นการยกฐานะกษัตริย์ให้เป็น
เทพซึ่งจะทาให้มีสิทธ์ิท่ีจะปกครอง หากเป็นว่ากษัตริย์มีสิทธ์ิที่จะปกครองก็เพราะได้ประกอบพิธีอย่าง
ถูกต้อง (Mabbet, 1969) ถ้ารับข้อเสนอของแมบเบทก็ย่อมหมายถึงการปฏิเสธข้อเสนอของบริกส์ที่ว่า
การประกอบพธิ ีในลัทธิเทวราชาใน ค.ศ. 802 เป็นจุดเริม่ ตน้ ของการปกครองแบบเทวสิทธใ์ิ นกัมพชู า
ไม่ว่าคาอธิบายเร่ืองลัทธิเทวราชาจะคืออะไร กษัตริย์แห่งพระนครก็สืบทอดการปฏิบัติตาม
ความเชอ่ื ในลัทธเิ ทวราชาเรอ่ื ยมาในช่วั ประวตั ศิ าสตรก์ มั พูชาโบราณ (Coedès and Dupont, 1943) และ
จะเป็นส่วน ประกอบสร้างท่ีสาคัญในกษัตริยภาวะ (kingship) หรือสภาวะของความเป็นกษัตริย์ของ
กษัตรยิ ก์ มั พูชา