Page 52 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 52

2-42 พื้นฐานสงั คมและวฒั นธรรมเขมร

       เม่ือสมเด็จพระนโรดมเสด็จสุรคตใน ค.ศ. 1904 ราชการอาณานิคมฝร่ังเศสก็ตั้งพระสีสุวัตถิ์
พระมหาอุปราช พระชนม์ 64 ปีอนุชาในสมเด็จพระนโรดม ซ่ึงฝักใฝ่ฝรั่งเศสข้ึนเป็นพระเจ้ากรุงกัมพูชา
หลังจากนนั้ แผนการปฏริ ปู ของฝรัง่ เศสดาเนนิ ไปอย่างราบรื่น

กจิ กรรม 2.3.1
       สาเหตทุ ่ที าใหฝ้ รง่ั เศสเขา้ มาทาสนธสิ ัญญาใน ค.ศ. 1863 คอื อะไร

แนวตอบกจิ กรรม 2.3.1
       ฝรง่ั เศสต้องการเดินทางตามแมน่ า้ โขงขน้ึ ไปทางตอนใตข้ องจนี ซง่ึ เปน็ ดินแดนท่ีฝร่ังเศสเชอ่ื วา่ มี

ความมง่ั คัง่ และอดุ มสมบรู ณ์ไปดว้ ยทรัพยากรและสนิ คา้ ต่างๆ

เรื่องที่ 2.3.2
การต่อต้านระบอบอาณานิคมและการเรียกร้องเอกราช

1. การประท้วงและต่อต้าน

       การประท้วงและต่อต้านฝร่ังเศสและการปกครองของฝรั่งเศสในกัมพูชาเกิดขึ้นมาตลอดช่วง
กาลเวลาท่ีกัมพูชาอยู่ในอารักขา การประท้วงและต่อต้านดังกล่าวมีต้ังแต่จานวนคนเรือนร้อยไปจนถึง
นับแสนคน และทั้งการเรียกร้องอย่างสันติไปจนถึงการจับอาวุธขึ้นสู้ การประท้วงและต่อต้านน้ันมีฐาน
ที่มาของความคิดหรืออุดมการณ์ซึ่งอาจจาแนกได้เป็น 2 แบบหลักๆ คือ ความคิดแบบจารีตนิยม และ
ความคิดแบบสมัยใหม่

       ความคิดแบบจารีตนิยมมรี ากฐานความคิดอันสัมพันธก์ ับความเชื่อแบบพุทธ กล่าวคือเห็นวา่ จะ
มีผู้มีบุญมาขับไล่ฝร่ังเศสซึ่งเป็นพวกนอกศาสนา มิจฉาทิฐิท่ีจะมาทาลายพระพุทธศาสนาและประเทศ
กัมพูชา ผู้มีบุญน้ันจะปกครองกัมพูชาเพื่อนากัมพูชาไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง (Hansen, 2007: 55-64;
ธบิ ดี บวั คาศรี, 2557)
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57