Page 56 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 56
2-46 พน้ื ฐานสงั คมและวฒั นธรรมเขมร
ในเดือนพฤษภาคม 1941 รัฐบาลอาณานิคมฝร่ังเศสก็อนุญาตให้กองทหารญี่ปุ่นเข้ามาต้ังใน
อินโดจีน ส่ิงนี้เป็นการตอกย้าความอ่อนแอของรัฐบาลอาณานิคม แต่ในขณะเดียวกันรัฐบาลอาณานิคม
ก็พยายามท่ีจะปราบปรามความเคล่ือนไหวของผู้ท่ีเห็นต่าง ในเดือนเมษายน 1942 รัฐบาลอาณานิคมส่ัง
ปิดหนังสือพิมพ์นครวัดซ่ึงปฏิเสธท่ีจะลดการวิพากษ์วิจารณ์ฝร่ัง (Reddi, 1971: 73-74) และในเดือน
กรกฎาคมปีนั้นเอง ราชการอาณานิคมก็จับกุมตัว พระปลัดโฆษนาค (แฮม เจียว) ซ่ึงเป็นอาจารย์
โรงเรียนบาลีชั้นสูงในกรุงพนมเปญในข้อหาพยายามกอ่ รฐั ประหารต่อต้านการปกครองของฝรั่งเศส ข่าว
ที่พระอาจารย์แฮม เจียว ถูกจับกมุ และถูกบังคับให้สละผ้าเหลอื งแพร่กระจายไปในพระนักเรียนโรงเรยี น
บาลีช้ันสูง วัดในกรุงพนมเปญและหัวเมือง และกลุ่มชาตินิยม ในวันท่ี 20 กรกฎาคม 1942 คนมากกวา่
1,000 คน ก็ออกมาชุมนุมและเดินขบวนต่อต้านฝร่ังเศส เหตุการณ์นี้จะเป็นท่ีรู้จัก ในช่ือว่าสงครามร่ม
เพราะพระภิกษุซ่ึงอยู่แถวหน้าของขบวนผู้ประท้วงใช้ร่ม ซ่ึงถือติดมือเป็นอาวุธและเครื่องป้องกันตัว
ราชการอาณานิคมตอบโต้การเดินขบวนคร้ังน้ันด้วยการใช้กาลังเข้าสลายการเดินขบวนและจับกุม
แกนนา แต่แกนนาคนสาคญั อยา่ ง เซงิ ง็อก ทัญ หลบหนีการจบั กุมของฝรง่ั เศสไปไดแ้ ละเดนิ ทางไปลภ้ี ยั
ยังประเทศญี่ปุ่น ทัญเข้ารับการฝึกอบรมที่ญี่ปุ่นจัดไว้สาหรับผู้นาชาตินิยมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(แชนด์เลอร์, 2557: 251-253; Locard, 2006-2007)
กองทหารญปี่ ุ่นเขา้ ปลดอาวธุ ทหารฝรัง่ เศสและปลดเจ้าหนา้ ที่ชาวฝรง่ั เศส ในเดอื นมนี าคม 1945
ออกจากตาแหนง่ ในระบบปกครองอาณานคิ ม ญี่ป่นุ หยิบฉวยกระแสชาตนิ ิยมต่อตา้ นฝร่ังเศสมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์โดยหวังว่าจะได้พันธมิตรไว้ช่วยต้านทานการรุกของฝ่ายสัมพันธมิตร ญ่ีปุ่นจึงสนับสนุนให้
กัมพูชาประกาศเอกราชในวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ. 1945 โดยกัมพูชาที่เป็นเอกราชนั้นอยู่ในการควบคุม
อย่างใกล้ชิดของกองทัพญี่ปุ่น ญ่ีปุ่นส่งนายทหารเข้ามาเป็นที่ปรึกษาทางการเมืองคอยกากับดูแลความ
เป็นไปในราชสานักและการดาเนินนโยบายของกัมพูชา แต่ช่วงเวลาดังกล่าวก็เป็นช่วงเวลาที่ความคิด
ชาตินิยมและการเคล่ือนไหวทางการเมืองของชาวกัมพูชามีโอกาสได้แบ่งบานอย่างท่ีไม่เคยปรากฏมา
กอ่ น (Chandler, 1996b)
ด้วยความต้องการเสียงสนับสนุนจากนักชาตินิยมเขมรมากข้ึน ญ่ีปุ่นก็สนับสนุนให้ เซิง ง็อก
ทัญ เข้ารับตาแหน่งรัฐมนตรี ทัญจะได้ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีก่อนที่ญี่ปุ่นจะยอมจานนแก่ฝ่าย
สัมพันธมิตรในวันท่ี 15 สิงหาคม 1945 เพียง 1 วัน และเม่ือฝร่ังเศสกลับเข้ามากัมพูชาอีกครั้งในเดือน
ตุลาคม ทัญก็ถูกจบั กุมตัวและถูกสง่ ไปคุมขงั ท่เี รอื นจากลางกรุงไซ่ง่อน ทัญถูกตัดสนิ ใหร้ ับโทษจาคุก 20
ปี โดยถูกส่งตัวไปรบั โทษด้วยการกกั บรเิ วณอยู่ในบา้ นพักที่ฝร่ังเศส