Page 42 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 42

4-32 พน้ื ฐานสังคมและวัฒนธรรมเขมร

กจิ กรรม 4.2.1
       1. สงั คมเมอื งเกดิ การเปลีย่ นแปลงและพัฒนามากขึน้ เพราะเหตุใด
       2. ชาวเขมรในกรงุ พนมเปญใช้เวลาพกั ผ่อนในช่วงเย็นหรอื วนั หยุดดว้ ยกจิ กรรมใด

แนวตอบกจิ กรรม 4.2.1
       1. สังคมเมอื งเกดิ การเปล่ยี นแปลงมากขนึ้ เม่อื รัฐบาลได้ทาสนธิสัญญาการลงทนุ แบบทวิภาคกี บั

นักลงทุนต่างชาติ โดยเร่ิมที่มาเลเซีย จากน้ันตามดว้ ยจนี และไทย จึงทาให้มีการลงทุนในเมืองและเปน็
ผลใหเ้ กิดการพัฒนา

       2. กจิ กรรมทสี่ าคัญคือการเดินเลน่ ตามแหลง่ ท่องเที่ยว ทง้ั บรเิ วณริมแม่น้าจตุมุข ห้างสรรพสินคา้
หรอื สวนสาธารณะ

เรื่องที่ 4.2.2
สภาพสังคมชนบท

       สังคมชนบทมีความสาคัญไม่น้อยไปกว่าสังคมเมือง เพราะชาวเขมรกว่าร้อยละ 85 อาศัยใน
ชนบท ในจานวนนี้ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทานา (Frederick Z. Brown and David G. Timberman,
1998: 128) แต่ก็มีบางส่วนทปี่ ลูกพชื ผลทางการเกษตรประเภทอ่ืน อาทิ ยางพารา มันสาปะหลงั พริกไทย
ฯลฯ ไม่ว่าพืชประเภทใด ท้ังหมดล้วนผลิตขึ้นท่ีชนบททั้งสิ้น ชนบทจึงกลายเป็นแหล่งผลิตพืชผลทาง
การเกษตรเพอื่ เล้ยี งปากท้องของชาวเขมรท้งั ประเทศ

1. สภาพทว่ั ไปของชนบท

       ชนบทยังคงลักษณะด้งั เดิมอยมู่ าก แม้ว่าพ้ืนที่ชนบทบางสว่ นทตี่ ิดกับเมืองเริม่ เปลี่ยนแปลงหรอื
พัฒนาไปบา้ งกต็ าม แต่สภาพโดยรวมยังคงไม่ต่างไปจากเดมิ นกั กล่าวคือยังไมม่ ีสิ่งอานวยความสะดวก
(ยกเว้นว่าบริเวณน้ันถูกพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว) ข้อมูลย้อนกลับเม่ือประมาณสิบที่แล้ว ครอบครัวท่ี
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47