Page 47 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 47
สภาพสงั คม 4-37
ในปัจจุบันคนชนบทเร่ิมเห็นความสาคัญของการศึกษามากข้ึน จากเดิมที่การศึกษาในระบบ
โรงเรียนดูเหมอื นจะหา่ งไกลกบั ความจาเป็นพ้นื ฐานในชีวิต แม้รฐั บาลไดอ้ อกกฎหมายว่าดว้ ยการส่งบุตร
หลานเข้าศึกษาภาคบังคับแล้วก็ตามแต่ไม่ประสบผลเท่าท่ีควร กล่าวคือ เด็กชนบทเข้าเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 1 และสอบผ่านเพียงร้อยละ 31 (Frederick Z. Brown and David G. Timberman,
1998: 131) ข้อมูลดังกล่าวเมื่อกว่าย่ีสิบปีท่ีแล้วสะท้อนให้เห็นว่าคนชนบทยังคงวิถีดารงชีวิตเพ่ือให้ “กิน
อ่มิ นอนหลบั ” เป็นสาคญั การศึกษาจึงยงั เข้าไมถ่ งึ เดก็ ชนบทได้เต็มที่
กล่าวโดยสรุปสังคมชนบทยังคงรักษาวิถีดั้งเดิมไว้ การดาเนินชีวิตพ่ึงพาธรรมชาติเป็นสาคัญ
คนรุ่นใหม่เร่ิมถอยห่างจากงานภาคการเกษตร โดยมุ่งหางานหรือใช้แรงงานในเมือง สภาพดังกล่าวใน
ไมช่ า้ ก็จะพบปญั หาเดียวกับประเทศอน่ื ๆ ทค่ี นชนบทมงุ่ เขา้ เมือง เหลอื เพยี งผสู้ งู อายุตามชนบทเท่านนั้
กจิ กรรม 4.2.2
1. แหล่งปลูกข้าวท่ใี ห้ผลผลิตดีท่ีสดุ อยบู่ ริเวณใด
2. อาหารพนื้ บา้ นของชาวชนบทมีลักษณะอย่างไรให้อธบิ ายพอสังเขป
แนวตอบกจิ กรรม 4.2.2
1. แหล่งปลูกข้าวท่ีให้ผลผลิตดีท่ีสุดอยู่รอบบึงต็วนเลซาบ และในจังหวัดพระตะบอง ก็อนดาล
ไพรแวง กาปงธม และกาปงจาม
2. อาหารพื้นบ้านของคนชนบทประกอบขึ้นง่ายๆ โดยมีข้าวเจ้าเป็นอาหารหลัก และมีน้าพริก
ผักจิ้ม เช่น “มา” (mua)M เป็นน้าพริกที่ทาจากปลาช่อน กุ้ง นาไปถนอมอาหารไว้คล้ายกับการทาปลาร้า
แลว้ ปรงุ รสดว้ ยน้าตาลโตนด พริก มะนาว นามาทานกับพชื ผักสวนครัว