Page 51 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 51

สภาพสงั คม 4-41

อัตราการลาออกของเด็กโดยเฉพาะในระดับชั้นประถม 1 น่าจะลดต่าลงเรื่อยๆ ซ่ึงเป็นผลดีโดยตรงต่อ
การขบั เคลอ่ื นประเทศตอ่ ไป

       ส่วนการศกึ ษาระดบั มัธยมศกึ ษากม็ แี นวโนม้ ท่ดี ขี น้ึ เดก็ เขมรเข้าศึกษาระดบั นมี้ ากขนึ้ โดยดูจาก
การเพ่ิมขึ้นของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ในจานวนนี้โรงเรียนระดบั มัธยมศึกษาตอนต้นกว่ารอ้ ยละ 50
ได้ขยายการเรียนการสอนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เมื่อพิจารณาถึงความก้าวหน้าในการจัด
การศึกษาก็เป็นไปในทิศทางท่ีดีขึ้น ท้ังการเพิ่มขึ้นของการจัดห้องเรียนคอมพิวเตอร์ของโรงเรียนระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น การพัฒนาการฝึกอบรมทักษะการสอนของครู และการเพิ่มจานวนทุนการศึกษาแก่
นักเรียนในระดับมัธยมศึกษา ข้อมูลท่ีน่าสนใจคือเด็กนักเรยี นเลือกเรียนวิชาในสายวิทยาศาสตร์เพ่ิมขึน้
มาก

       สาหรับในระดับอุดมศึกษารัฐก็สนับสนุนและขับเคลื่อนการศึกษาอย่างเต็มที่ เน่ืองจากในช่วงปี
ค.ศ. 2009-2013 การศึกษาในระดับนี้ขยายตัวขึ้นมาก ทั้งการเพิ่มจานวนมหาวิทยาลัย ในจานวนน้ี
มหาวิทยาลัยจากต่างประเทศก็เข้ามาจัดการศึกษาด้วย ช่วงดังกล่าวจานวนนักศึกษาในระบบมีกว่า
สองแสนคน รัฐยังจัดสรรทนุ การศึกษาแก่นสิ ติ นักศึกษา เม่ือชาวเขมรใหค้ วามสาคัญกับการศกึ ษาระดับ
อุดมศึกษา รัฐจึงพยายามขับเคลื่อนทิศทางการศึกษาให้มากท่ีสุด จึงกาหนดวิสัยทัศน์การศึกษาชาติ
ปี ค.ศ. 2030 โดยดาเนินตามแผนการศึกษาของยูเนสโก ท่ีได้จัดการประชุมที่เมืองอินชอน สาธารณรัฐ
เกาหลี จากวิสัยทัศน์ นโนบาย และการกากับดูแลการศึกษาของชาติสะท้อนว่ารัฐดาเนินการจัด
การศกึ ษาทกุ ระดบั ผา่ นกลไกของกระทรวง ศึกษาธิการ เยาวชน และกีฬา โดยมเี ป้าประสงค์เพอื่ พัฒนา
ทรัพยากรที่มีคุณค่าที่สุดของประเทศ คือ “คน” การขับเคล่ือนดังกล่าวคงสัมฤทธิผลในไม่ช้าเพราะ
ประชาชนเองก็ส่งเด็กวัยเรียนเข้าศึกษาในระบบอย่างเต็มที่ ประเด็นน้ีคงต้องพิจารณาต่อไปว่าใน
ท้ายทีส่ ดุ ทรัพยากรมนุษยท์ ่ีได้รบั การพัฒนาทางการศกึ ษาจะทาให้ประเทศพัฒนาไปทิศทางใด

2. ระบบการศึกษาในปัจจบุ ัน

       ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสนอกจากจะดูแลเร่ืองการบริหารกิจการบ้านเมืองภายในเขมร
แลว้ ยังวางระบบการศึกษาตามแบบตะวันตกไว้ ระยะแรกเปน็ การปรับเปล่ยี นจากวดั มาสูโ่ รงเรียน แม้ว่า
ระบบการศึกษาปัจจุบนั จะมสี ะดดุ ไปบ้างบางชว่ ง เชน่ ชว่ งทเ่ี กิดสงครามกลางเมอื งของกลุม่ เขมรแดง ใน
ปี ค.ศ. 1975-1979 แตก่ ารศกึ ษาในปจั จบุ นั ทดี่ าเนนิ การอย่มู าจากการวางรากฐานของฝรง่ั เศส

       ระบบการศึกษาของเขมรโดยเฉพาะในระดับต้นๆ เน้นให้ผู้เรียนรู้หนังสือ อ่านออก เขียนได้
ภายหลังจากการปฏิรูปการศึกษาใน ค.ศ. 1996 รัฐจัดการศึกษาโดยยึดรูปแบบ 6-3-3 เป็นระบบ
การศึกษาสายสามัญ ประกอบด้วยระดับประถมศึกษา 6 ปี มัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี และมัธยมศึกษา
ตอนปลาย 3 ปี ดังนี้
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56