Page 50 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 50
4-40 พืน้ ฐานสังคมและวัฒนธรรมเขมร
นโยบายการศกึ ษาท่ี 2 ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา
รัฐจะจัดการศึกษาท่มี ีคุณภาพ และสอดรับการความต้องการของสังคมและเศรษฐกจิ ของประเทศ
การพัฒนาคุณภาพการศึกษามุ่งไปที่ผู้เรียน บิดามารดา ชุมชน ครูอาจารย์ และผู้ดูแลระบบการศึกษา
ของชาติ เพอื่ ใหก้ ารศกึ ษาได้มาตรฐานตามนโยบายการศกึ ษาของชาติ
นโยบายการศกึ ษาที่ 3 เป็นผู้กาหนดการศกึ ษาและจดั การศกึ ษาทกุ ระดับ
โดยกาหนดการศึกษาให้มีคุณภาพและประสทิ ธิภาพ ส่วนการจัดการศึกษามุ่งเน้นประสทิ ธภิ าพ
และจัดการศึกษาแบบมืออาชีพ ให้สอดรับกับนโยบายการศึกษาชาติ พร้อมท้ังขับเคลื่อนนโยบาย
ยุทธศาสตรแ์ ละแผนการจดั การศึกษาใหส้ มั ฤทธิผล
วิสยั ทศั น์และนโยบายการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ เยาวชน และกฬี าขา้ งตน้ สะท้อนว่ารัฐ
ต้องการขับเคล่ือนประเทศและสังคมให้ทนั และทดั เทียมกบั นานาประเทศจึงกาหนดให้เด็กเข้าเรียนตั้งแต่
ประถมจนถงึ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หากใครท่ีสามารถเรยี นในระดบั ทีส่ ูงกวา่ มธั ยมปลายรัฐก็ยงั คงสนับสนุน
ส่วนเด็กท่ีไม่มีโอกาสเข้ารับการศึกษาในระบบรัฐก็จะจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้สอดรับกับความ
ตอ้ งการ กระทรวงฯ ยังให้ความสาคัญต่อการศกึ ษาภาษาเขมรและคณิตศาสตรอ์ ย่างมาก เนอื่ งจากภาษา
เขมรเป็นวัฒนธรรมสาคัญ ส่วนคณิตศาสตร์เป็นพ้ืนฐานการเรียนในศาสตร์ต่างๆ ท้ังวิทยาศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์ วิชาทั้งสองจึงมีความสาคัญในการพัฒนาประเทศและเทคโนโลยีให้ก้าวทันประเทศอื่น
(ชาญชัย คงเพยี รธรรม, 2555: 3) การศึกษาจงึ เปน็ กลไกสาคัญในการพัฒนาประเทศให้เจริญรดุ หน้าทัน
ต่อการแข่งขันทุกด้าน ในขณะเดียวกันก็ยังไม่ลืมความสาคัญของวัฒนธรรมชาติที่ธารงมากว่าสองพันปี
นโยบายการศึกษาจึงสะท้อนให้เห็นว่ารัฐมุ่งพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลกท่ี
ตอ้ งอาศยั ความรแู้ ละการศกึ ษา
การกากบั ดูแลการศึกษาของกระทรวงฯ ได้แบง่ การจดั การออกเปน็ ระดับประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา
และอุดมศึกษา แต่ละระดับมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ รัฐจึงจัดสรรงบประมาณเพ่ือสนับสนุน
โดยมีรายละเอียดแตกต่างกันไป กลา่ วคอื ระดบั ประถมศึกษาถอื เปน็ การศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่สาคัญแกเ่ ดก็
ทุกคน รัฐจึงจัดสรรงบประมาณให้มากที่สุด และมีนโยบายที่จะสนับสนุนงบประมาณสบื เนื่องต่อไป เมื่อ
รัฐให้ความ สาคัญกับการศึกษาระดับประถมศึกษา ผลท่ีได้จึงประสบผลสาเร็จในระดับท่ีน่าพอใจเพราะ
เด็กมีแนวโน้มเข้าเรียนเพ่ิมขึ้นถึงร้อยละ 97 ในจานวนน้ีไมม่ ีความแตกต่างระหวา่ งเด็กชายและเด็กหญิง
ท่ีเข้าศึกษาในระบบโรงเรยี น จากเดิมท่ีเดก็ ชายมักมโี อกาสเข้าถงึ การศึกษามากกวา่ ในขณะที่เดก็ หญงิ มี
อตั ราการรู้หนงั สอื ต่ากว่ามาก ส่วนอัตราการลาออกกอ่ นจบการศึกษาก็ลดน้อยลงมาก ในขณะท่ีโรงเรียน
ได้ขยายช้ันเรียนให้ครบทุกระดับ และขยายห้องเรียนตามความต้องการของผู้เรียน (www.moeys.
gov.kh สบื ค้นเมื่อวันที่ 20 มิถนุ ายน 2561) ข้อมูลทไ่ี ด้จากกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เยาวชน และกีฬา แสดงวา่