Page 44 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 44
4-34 พ้ืนฐานสังคมและวฒั นธรรมเขมร
คนชนบทดารงอย่ไู ด้ด้วยเกษตรกรรม โดยเฉพาะการปลกู ข้าวซึ่งเปน็ พืชเศรษฐกจิ สาคัญ แหล่ง
ปลูกข้าวท่ีให้ผลผลิตดีท่ีสุดอยู่รอบบึงต็วนเลซาบ และจังหวัดพระตะบอง ก็อนดาล ไพรแวง กาปงธม
และกาปงจาม บริเวณนี้ปลูกข้าวแบบข้าวขึ้นน้าหรือข้าวน้าลึก (Deep water หรือ Floating rice) โดย
ปลูกข้าวในนาที่น้าท่วมขัง น่าเสียดายที่ทั้งประเทศมีแหล่งปลูกข้าวด้วยวิธีนี้ไม่ถึงร้อยละ 15 ส่วนแหล่ง
ปลูกข้าวที่ให้ผลผลิตดีรองลงมาอยู่ในจังหวัดใกล้อ่าวไทย ได้แก่ จังหวัดเกาะกง และกาปอด และแหล่ง
ปลูกข้าวท่ีให้ผลผลิตต่าสุดอยู่บริเวณแถบท่ีสูงของประเทศในจังหวัดมณฑลคีรี รัตนคีรี พระวิหาร และ
สตึงแตรง บริเวณท่ีให้ผลผลิตต่าใช้วิธีการปลูกแบบนาปีท่ีไม่สามารถควบคุมน้าฝนได้ ต้องอาศัย
ธรรมชาติ แม้ว่าพ้ืนท่ีปลูกข้าวในชนบทจะมีมาก แต่ด้วยข้อจากัดของแหล่งปลูกส่งผลให้มีข้าวช้ันดไี ม่ถงึ
ร้อยละ 15 จึงทาให้ผลผลิตโดยรวมของท้ังประเทศมีไม่มากพอในการช่วงชิงรายได้จากการส่งออกกับ
เพือ่ นบา้ นอย่างไทยและเวยี ดนาม สายพนั ธุ์ขา้ วทีด่ แี ละได้รบั ความนยิ มคือขา้ วพันธหุ์ อมดอกลาดวน
พืชเศรษฐกจิ อื่นๆ ยางพาราคือท่ีสรา้ งรายไดพ้ อควร การปลูกยางพาราในลักษณะพืชเศรษฐกจิ
เร่ิมข้ึนในสมัยพระบาทสีสุวัตถิ์ ใน ค.ศ. 1921 เป็นช่วงอยู่ภายใต้การปกครองฝรั่งเศส และมีแนวโน้มว่า
กลุ่มชาวฝรั่งเศสเป็นผู้ริเร่ิมให้ชาวเขมรปลูกยางพาราเพ่ือสร้างรายได้ ซึ่งในขณะนั้นชาวเขมรมีความ
เป็นอยู่ยากลาบาก เขตปลูกยางพาราที่สาคัญอยู่ในจังหวัดกาปงจาม กระแจะ (Rtwg ga 2001: 272)
และแถบจังหวดั ท่มี ีพรมแดนติดกบั ประเทศเวยี ดนาม ยางพาราเปน็ พชื เศรษฐกจิ ของชนบทท่สี ร้างรายได้
ใหแ้ กป่ ระเทศเป็นอนั ดบั ตน้ ๆ มาโดยตลอด นอกจากนยี้ งั มีพริกไทย ขา้ วโพด ถวั่ เหลอื ง อ้อย พชื เหล่าน้ี
ปลูกรวมกันแล้วคิดเป็นร้อยละ 10 ของผลผลิตทางการเกษตรท้ังประเทศ (เขียน ธีระวิทย์ และสุณัย
ผาสุข, 2543) ในปัจจุบันสังคมชนบทเป็นแหล่งสร้างอาหารท่ีใช้บริโภคภายในประเทศและส่งออก
ตา่ งประเทศ
ภาพท่ี 4.15 พนื้ ทนี่ าในสังคมชนบท ทเ่ี ตม็ ไปด้วยข้าว สินค้าเกษตรทห่ี ล่อเลยี้ งประเทศ
ทมี่ า: www.worldbank.org สืบค้นเม่ือวนั ที่ 15 มิถุนายน 2561.