Page 16 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 16
13-6 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
2. ความแ ตกต า่ งระหวา่ งสถติ นิ นั พ าราเมตริก และส ถติ ิพาราเมตริก
สถิติน ันพาราเมตริกได้รับก ารพัฒนาข ึ้นและมีก ารนำ�ไปใช้อ ย่างก ว้างขวางเนื่องจากใช้ง ่าย และไม่มี
ข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับการแจกแจงข้อมูลว่าต้องเป็นโค้งปกติ และข้อมูลจะมีระดับการวัดแบบใดก็ได้
ในกรณีที่ข้อมูลเป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้นของสถิติพาราเมตริก กล่าวคือ วัดในระดับอันตรภาค หรือ
อัตราส่วนและการแจกแจงของประชากรเป็นโค้งปกติ การใช้สถิติพาราเมตริกจะมีอำ�นาจการทดสอบสูง แต่
ในกรณีที่ข้อมูลไม่เป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้นของสถิติพาราเมตริก ก็ควรใช้สถิตินันพาราเมตริก การเปรียบ
เทียบดังแ สดงในตารางที่ 13.1
ตารางท่ี 13.1 เปรยี บเทียบสถติ พิ าราเมตรกิ และสถติ ินนั พาราเมตริก
ประเด็นเปรยี บเทยี บ สถติ พิ าราเมตริก สถติ นิ ันพาราเมตรกิ
1. ขอ้ ตกลงเบอ้ื งต้น
การแจกแจงของประชากรมีรปู ร่าง การแจกแจงของประชากรไมจ่ �ำ เป็นตอ้ ง
2. ระดบั การวดั ของข้อมูล การแจกแจงเฉพาะ ซง่ึ ส่วนใหญ่ เป็นการแจกแจงแบบปกติ
3. ขนาดกล่มุ ตัวอย่าง มกี ารแจกแจงแบบปกติ
4. การค�ำ นวณคา่ ข้อมลู วดั ในระดับอนั ตรภาคหรอื ข้อมูลวดั ระดับใดกไ็ ด้ ท้งั นามบัญญตั ิ
5. อ�ำ นาจการทดสอบ อัตราส่วน จัดอนั ดับ อนั ตรภาค และอัตราสว่ น
กลุ่มตวั อยา่ งมขี นาดใหญ่ กลมุ่ ตวั อยา่ งมขี นาดเลก็ หรอื ขนาดใหญ่
ก็ได้
คอ่ นขา้ งซบั ซอ้ น งา่ ย ไมซ่ ับซ้อน
ถา้ ข้อมลู เปน็ ไปตามข้อตกลงเบื้องตน้ ถ้าขอ้ มลู เป็นไปตามขอ้ ตกลงเบื้องตน้
ของการทดสอบพาราเมตริก การทดสอบ ของการทดสอบนนั พาราเมตริก
โดยสถิตพิ าราเมตรกิ ให้อำ�นาจ การทดสอบจะให้อำ�นาจการทดสอบ
การทดสอบสูงกว่าสถติ ินนั พาราเมตริก สูงกวา่ สถิตพิ าราเมตริก
3. จุดเด่นและจุดด้อยข องสถิติน นั พาราเมตริก
จากความแตกต่างของสถิตินันพาราเมตริกและสถิติพาราเมตริก สามารถสรุปจุดเด่นและจุดด้อย
ของส ถิติน ันพ าราเมตริกได้ ดังนี้
3.1 จุดเด่นข องส ถติ นิ นั พาราเมตรกิ
3.1.1 ในกรณีกลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก และไม่ทราบการแจกแจงของประชากร ไม่สามารถใช้
สถิตพิ าราเมตริกได้ ดังน ั้น การใชส้ ถิตนิ ันพ าราเมตริกจ ึงม คี วามเหมาะส ม เช่น การทดสอบผ ลข องน วัตกรรม
เมื่อทดลองใช้ก ับกลุ่มตัวอย่างน ักเรียนในโรงเรียนข นาดเล็กทุกค น โดยไม่มีก ารส ุ่มก ลุ่มตัวอย่าง