Page 17 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 17

สถิตินนั พาราเมตริก 13-7

            3.1.2 	สถติ นิ​ นั พ​ าราเ​มตรกิ ส​ ามารถใ​ชไ้ ดก้​ บั ข​ อ้ มลู ท​ กุ ป​ ระเภท ไมว​่ า่ จ​ ะว​ ดั ใ​นร​ ะดบั น​ ามบ​ ญั ญตั ิ
จัด​อันดับ อันตรภาค หรือ​อัตราส่วน ซึ่ง​ใน​กรณี​ข้อมูล​วัด​ใน​ระดับ​นาม​บัญญัติ หรือ​จัด​อันดับ ไม่​สามารถ​
วิเคราะห์​โดยใ​ช้​สถิติ​พารา​เมตริกไ​ด้ เช่น ผล​การป​ ระเมิน​พฤติกรรม​ที่แ​ บ่งเ​ป็น 3 ระดับ ได้แก่ ทำ�​เป็นป​ ระจำ� 
ทำ�​เป็น​บางค​ รั้ง และ​ไม่ค​ ่อยไ​ด้​ทำ� เป็นการ​วัด​ใน​ระดับ​จัดอ​ ันดับ ควร​วิเคราะห์โ​ดย​ใช้​สถิติน​ ัน​พารา​เมตริก

            3.1.3 	สถติ น​ิ นั พ​ าราเ​มตรกิ ม​ ข​ี อ้ ต​ กลงเ​บือ้ งต​ น้ ไ​มม​่ าก เชน่ การแ​ จกแจงข​ องป​ ระชากรไ​มจ่ �ำ เปน็
ต้อง​เป็น​แบบ​ปกติ หรือ​กลุ่ม​ตัวอย่างไม่จำ�เป็น​ต้อง​ได้​มา​โดย​การ​สุ่ม ดัง​นั้น จึง​นำ�​ไป​ใช้ได้​กว้าง​ขวาง​และ​
เกิด​ความ​ผิดพ​ ลาดใ​นก​ ารใ​ช้​น้อย​กว่า​การ​ใช้​สถิติ​พาราเ​มตริกโดย​มีก​ าร​ฝ่าฝืน​ข้อต​ กลง​เบื้อง​ต้น

       3.2 	 จดุ ด​ อ้ ยข​ องส​ ถติ น​ิ นั พ​ าราเ​มตรกิ   ในก​ รณที​ ีข่​ ้อต​ กลงเ​บื้องต​ ้นข​ องก​ ารท​ ดสอบพ​ าราเมตริกมคี​ รบ​
ถ้วน และข​ ้อมูล​มี​การว​ ัด​ในร​ ะดับอ​ ันตรภาค หรืออ​ ัตราส่วน การใ​ช้​สถิติ​นัน​พารา​เมตริกม​ ี​อำ�นาจ​การ​ทดสอบ​
ตํ่า​กว่า​การ​ใช้​สถิติพ​ าราเ​มตริก

             หลงั ​จาก​ศกึ ษาเ​นอื้ หา​สาระ​เรอื่ ง​ท่ี 13.1.1 แล้ว โปรด​ปฏิบตั ิ​กิจกรรม 13.1.1
                    ในแ​ นวก​ ารศ​ ึกษา​หน่วย​ท่ี 13 ตอนท​ ่ี 13.1 เรื่อง​ที่ 13.1.1

เรือ่ งท​ ่ี 13.1.2 การ​เลือก​ใชส้​ ถิต​นิ ันพ​ าราเ​มตรกิ

       การ​ทดสอบ​สมมติฐาน​ด้วย​สถิติ​นัน​พารา​เมตริก​มี​ขั้น​ตอน​การ​ทดสอบ​เช่น​เดียว​กับ​การ​ทดสอบ​
สมมติฐานด​ ้วยส​ ถิติพ​ ารา​เมตริก การ​เลือก​สถิติ​ทดสอบต​ ้องเ​ลือก​ให้​เหมาะส​ มว​ ่าจ​ ะใ​ช้ส​ ถิติท​ ดสอบใ​ด

       ขั้น​ตอน​การท​ ดสอบส​ มมติฐานด​ ้วย​สถิติ​นัน​พารา​เมตริก มีด​ ังนี้
       ข้นั ท​ ี่ 1 	 ตั้ง​สมมติฐาน​ทาง​สถิติ ซึ่ง​ประกอบ​ด้วย​สมมติฐาน​ว่าง หรือ​สมมติฐาน​สูญ (Null Hypo-
thesis: H0) และส​ มมติฐานท​ างเ​ลือก (Alternative Hypothesis: H1 หรือ Ha)
       ขั้น​ท่ี 2 	กำ�หนด​ระดับ​นัยส​ ำ�คัญ (α) ของ​การ​ทดสอบ ในก​ รณีท​ ี่โ​จทย์ไ​ม่​กำ�หนดร​ ะดับ​นัย​สำ�คัญใ​ห​้
ผู้ท​ ดสอบ​สามารถ​กำ�หนด​ตาม​ความ​เหมาะส​ ม เช่น กำ�หนด​ให้ α = .01 หรือ α = .05
       ข้นั ​ท่ี 3 	เลือกส​ ถิตทิ​ ดสอบ สถิตทิ​ ีใ่​ชต้​ ้องเ​หมาะส​ มก​ ับจ​ ุดม​ ุ่งห​ มายข​ องก​ ารท​ ดสอบ ระดับก​ ารว​ ัดข​ อง​
ข้อมูล และ​จำ�นวนก​ ลุ่ม​ตัวอย่าง
       ขน้ั ท​ ่ี 4 	 ระบุ​ค่า​วิกฤตของ​การ​ทดสอบ ค่า​วิกฤต​ของ​การ​ทดสอบ​กำ�หนด​ได้​จาก​ตาราง​ค่า​วิกฤต​ของ​
สถิติท​ ดสอบแ​ ต่ละช​ นิด
       ขน้ั ท​ ี่ 5 	คำ�นวณ​ค่า​สถิติ​จากข​ ้อมูลก​ ลุ่มต​ ัวอย่าง
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22