Page 26 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 26
13-16 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
ขัน้ ท ี่ 5 คำ�นวณค่าส ถิติ
ในกรณีนี้คาดหวังว่าจำ�นวนพนักงานที่พึงพอใจสวัสดิการในระดับต่าง ๆ มีเท่า ๆ กัน ดังนั้น
ความถี่ หรือจำ�นวนพนักงานที่คาดห วังว่าพ ึงพ อใจสวัสดิการในแ ต่ละระดับเท่ากับ 640 = 15
ระดบั ความพงึ พอใจ O E O - E (O - E)2 (O - E)2/E
ไมพ่ อใจ 8 15 -7 49 49/15
พอใจนอ้ ย
พอใจปานกลาง 12 15 -3 9 9/15
พอใจมาก
25 15 10 100 100/15
15 15 0 0 0
χ2 = (8 — 15)2 + (12 — 15)2 + (25 — 15)2 + (15 — 15)2
15 15 15 15
= 11558
= 10.53
ขั้นท ่ี 6 เปรียบเทียบค ่าสถิติก ับค่าว ิกฤต
χ2 คำ�นวณ > 7.82 ดังนั้น ปฏิเสธ H0
ข้นั ท ่ี 7 สรุปผ ล
ความพึงพ อใจข องคนแ ต่ละกลุ่มแตกต่างก ัน
1.6 ข้อจำ�กัดของการทดสอบไคสแควร์ ในกรณีความถี่ที่คาดหวังในแต่ละประเภทมีจำ�นวนน้อย
เกนิ ไป (นอ้ ยก วา่ 5) ผลก ารท ดสอบอ าจผ ดิ พ ลาดได้ ในก รณคี วามถที่ คี่ าดห วงั ม ากกวา่ 5 แตน่ อ้ ยก วา่ 10 ควรใช้
การท ดสอบไคส แ ควร์โดยใช้ส ูตรท ี่ม ีค่าแก้เพื่อความต่อเนื่อง ดังนี้
χ2 = (|0i — Ei| — .5)2
Ei
1.7 ประสิทธิภาพของการทดสอบ การทดสอบไคสแควร์ใช้ได้ดีในกรณีที่ข้อมูลวัดในระดับ
นามบัญญัติ แต่ถ้าข้อมูลมีระดับการวัดที่สูงขึ้น การทดสอบไคสแควร์มีอำ�นาจการทดสอบน้อยกว่าสถิติ
ทดสอบอ ื่น เนื่องจากไม่ได้ใช้รายล ะเอียดของข ้อมูล
1.8 ตัวอย่างผ ลก ารว เิ คราะหข์ ้อมูลด้วยโปรแกรมค อมพิวเตอร์ จากข ้อมูลในต ัวอย่างที่ 13.1 นำ�ไป
วิเคราะห์ด ้วยโปรแกรม SPSS โดยใช้คำ�สั่ง
Analyze Nonparametric Tests Chi-Square