Page 89 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 89
การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมที่เก่ียวข้อง 2-79
- ทอี่ ยขู่ อง IP (Internet Protocol Address or IP address or Host address)
หรอื ชอื่ แมข่ า่ ย (Domain Name) หมายถงึ ขอ้ ความระบทุ อี่ ยขู่ องหนว่ ยงานโดยอาจระบใุ นรปู รหสั IP address
ประกอบด้วยชุดรหัสตัวเลข 4 ชุด แต่ละชุดคั่นด้วยเครื่องหมายมหภาค (full stop or period) (.) เช่น IP
address ของ Google คือ ‘72.14.207.99’ หรือระบุช่ือแม่ขา่ ย (domain name) โดยตรงวา่ ‘google.com’
ก็ได้ ส่วนใหญ่นยิ มใช้ชื่อแมข่ า่ ยโดยตรง และไมน่ ยิ มใช้ทอ่ี ยู่ IP แบบชุดรหสั ตวั เลข 4 ชุด
องค์การ Internet Assigned Numbers Authority (IANA) อันเปน็ องคก์ าร
หนึ่งของ ICANN ไดแ้ บ่งกลุ่มแมข่ ่ายแต่ละประเภทแตกตา่ งกนั เชน่ องคก์ าร ใช้ ‘.com’ สถาบันการศึกษาใช้
‘.edu’ ดงั ตวั อยา่ ง ชอ่ื แมข่ า่ ยมหาวทิ ยาลยั คอรเ์ นล คอื ‘cotnell.edu’ ชอื่ แมข่ า่ ย มสธ. คอื ‘stou.edu’ เปน็ ตน้
ชื่อแม่ข่ายยังมีการจัดเรียงล�ำดับเม่ือลงไปถึงแม่ข่ายท่ีเป็นส่วนงาน โดยแบ่งเป็น 4 ระดับ ระดับสูงสุด (top
level domain name = TLD) ใชร้ หัสส่วนเดยี ว เชน่ ‘.com’ หรอื ‘.edu’ ชือ่ แมข่ ่ายประเภทนี้ใชใ้ นการจัดกล่มุ
ชอื่ แม่ข่ายเทา่ นั้น ระดับที่สอง (second level domain name = SLD) เป็นรหัสสองสว่ น เช่น ‘cornell.edu’ เปน็
ส่วนท่ีมหาวิทยาลัยเจ้าของชื่อแม่ข่ายเท่าน้ันท่ีด�ำเนินการจดทะเบียนและแก้ไขในการใช้งานได้ ระดับที่สาม
(third level or three part domain name) เป็นรหัสสามส่วน เช่น ‘bigred.cornell.edu’ ส�ำหรับ
คณะ ภาควชิ า สถาบนั ในมหาวทิ ยาลยั ดำ� เนินการ และระดับทีส่ ี่ (fourth level or four part domain name)
เป็นรหัสสี่ส่วนที่หนว่ ยงานภายในภาควชิ าดำ� เนนิ การ เชน่ ‘project.bigred.cornell.edu’ โดยอาจก�ำหนดให้
เป็นรหสั ส่สี ว่ นโดยเติมรหัสของหน่วยงาน หรอื เพ่ิมรหัส ‘www’ เชน่ ‘www.arts.cornell.edu’ เป็นต้น ใน
กรณีที่มีการใช้ชื่อแม่ข่ายลงถึงระดับย่อย เรียกชื่อส่วนท่ีเป็นรหัสระบุระดับอีกช่ือหน่ึงว่า ‘ชื่อแม่ข่ายย่อย
(subdomain) เช่น เขียนช่ือแมข่ า่ ยยอ่ ยว่า ‘video’ ก่อนเขียนชอ่ื แม่ขา่ ย ดงั นี้ ‘video.google.co.th’
องคก์ าร Internet Assigned Numbers Authority (IANA) เปน็ องคก์ ารหนง่ึ
ของ ICANN ซึง่ เปน็ องคก์ ารกอ่ ต้งั เมอ่ื ค.ศ. 1998 และมสี มาชกิ ทว่ั โลก ปัจจุบนั มสี าขาอยู่ท่ี Los Angeles,
Silicon Valley, Brussel, Washington, D. C. และ Sydney ท�ำหน้าทกี่ �ำหนดรปู แบบ IP address เป็นครั้ง
แรกเม่อื ต้นทศวรรษ 1980s ในระบบ IPv4 โดยใช้รหัสตวั เลข 32 บิท (bit) 4 กลุ่ม แต่ละกลมุ่ มคี ่าในช่วง 0-255
มีเคร่ืองหมายทวิภาค (colon) ‘:’ คั่นระหว่างกลุ่ม เช่น ‘192.0.2.53.’ ระบบ IPv4 รองรับการจดทะเบียน
ผู้ใชง้ านได้สงู ถงึ 4.7 บลิ เลียน (37 billion) ราย (สหรฐั ฯ และฝร่งั เศส: 1 บิลเลียน = 1 พันล้าน; องั กฤษ และ
เยอรมนั : 1 บลิ เลยี น = 1 ล้านลา้ น) ซงึ่ เพยี งพอตอ่ การใช้งานเม่อื เทียบกบั ประชากรของโลกขณะนัน้ เท่ากบั 7
บลิ เล่ียน คน
เมอื่ เวลาผา่ นไป ระบบ IPv4 เรม่ิ มปี ญั หาเนอ่ื งจากไมส่ ามารถรองรบั การขอรบั IP
address ได้ จึงต้องเรม่ิ มีการพฒั นาจากระบบเกา่ IPv4 เป็นระบบใหม่ IPv6 ชว่ งปี ค.ศ. 1996-1999 ต่อจาก
นน้ั เปน็ การทดลองใชง้ านระบบอกี หลายปี เพอื่ ตรวจหาขอ้ บกพรอ่ งและแกไ้ ขระบบใหเ้ หมาะสม การพฒั นาระบบ
IPv6 เปน็ ผลส�ำเรจ็ เมื่อเดือนมถิ ุนายน ค.ศ. 2006 ระบบ IPv6 ใช้รหัสตัวเลข 128 บิท (bit) แบง่ เป็น 2 กล่มุ โดย
มเี ครื่องหมายทวภิ าค (colon) ‘:’ คั่นระหวา่ งกล่มุ รหสั ทั้งสองกล่มุ กลุ่มแรก ‘network prefix’ ซ่ึงบางกรณีมี
subnet bits เพิ่มเติมได้อีก ใช้เน้ือที่ 64 บิท เพื่อระบุเครือข่าย (network) ท่ีมีรหัสก�ำหนดเฉพาะแต่ละ
เครอื ขา่ ย และกลมุ่ ทีส่ อง ‘interface identifier’ ใช้เน้อื ท่ี 64 บทิ ประกอบด้วยรหัส เพอ่ื ระบแุ ม่ขา่ ย (host to
domain) ที่มีรหัสก�ำหนดเฉพาะแต่ละแม่ข่าย โครงสร้างรหัส IPv6 ท่ีปรับใหม่น้ี สามารถรองรับปริมาณการ
จดทะเบยี นจำ� นวนมหาศาลทเ่ี พม่ิ มากขน้ึ กวา่ โครงสรา้ งรหสั IPv4 ซง่ึ องคก์ าร ICANN (2011) อธบิ ายวา่ ปรมิ าณ