Page 104 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 104
3-94 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
1.2 ความเป็นตัวแทนของเน้ือหาในโครงสร้างแบบทดสอบ เนื้อหาท่ีน�ำมาท�ำเป็นแบบทดสอบ
ควรสอดคล้องกับส่ิงท่ีต้องการวัด และเป็นตัวแทนของสิ่งท่ีต้องการวัด
1.3 โครงสร้างเนื้อหาของแบบทดสอบ (test specification) ในการสร้างและพัฒนาแบบทดสอบ
ควรมขี อ้ สอบทเ่ี ปน็ ตวั แทนของเนอื้ หาในพมิ พเ์ ขยี วอยา่ งพอเพยี ง และมคี วามสมดลุ ไมค่ วรกำ� หนดใหม้ เี นอื้ หา
ใดมากหรือน้อยเกินไป
1.4 ความสอดคล้องระหว่างข้อค�ำถามกับโครงสร้างเน้ือหา ข้อสอบในแบบทดสอบควรสอดคล้อง
กับโครงสร้างเนื้อหาในด้านรูปแบบการตอบ และรูปแบบค�ำถาม เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าแบบทดสอบจะ
สามารถวัดสิ่งท่ีต้องการวัดได้ดี
1.5 ความเป็นตัวแทนของข้อสอบแต่ละมาตรฐาน หรือมิติข้อสอบของแต่ละมาตรฐานควรมีจ�ำนวน
มากเพียงพอที่จะวัดมาตรฐานนั้น ๆ ได้ โดยท่ัวไปแต่ละมาตรฐานควรมีข้อสอบไม่น้อยกว่า 6 ข้อ เพราะหาก
น้อยกว่าน้ีจะท�ำให้มีความคลาดเคล่ือนในการวัดสูงจนไม่สามารถวัดและจ�ำแนกผู้เรียนได้
1.6 ความเก่ยี วขอ้ งระหวา่ งเนอ้ื หาทีต่ ้องการทดสอบกบั มาตรฐาน หรือมิตทิ ี่ตอ้ งการวัด การประเมนิ
ความเก่ียวข้องระหว่างเนื้อหาท่ีต้องการทดสอบกับมาตรฐาน หรือมิติที่ต้องการวัด ควรประเมินโดยใช้ดัชนี
ความสอดคล้อง ซ่ึงได้อธิบายไว้ในหน่วยท่ี 6
1.7 คณุ ภาพของการเขยี นขอ้ สอบ คณุ ภาพการเขยี นขอ้ สอบอาจพจิ ารณาจากภาษา ถอ้ ยคำ� ทม่ี คี วาม
เหมาะสม เข้าใจง่าย ตรงประเด็น รวมท้ังรูปแบบข้อสอบต้องสอดคล้องกับส่ิงท่ีต้องการวัดด้วย การเลือก
รูปแบบที่เหมาะสมจะช่วยให้วัดได้เหมาะสม
1.8 คุณสมบัติของผู้ออกข้อสอบ คุณสมบัติของผู้ออกข้อสอบเป็นส่ิงท่ีควรประเมินเพราะเก่ียวข้อง
กับคุณภาพของข้อสอบ ผู้ที่ควรเลือกมาช่วยออกข้อสอบควรเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเน้ือหา
2. หลกั ฐานเกีย่ วกับกระบวนการตอบของผูส้ อบ (response process)
การศึกษากระบวนการตอบของผู้สอบเป็นส่ิงท่ีจะพิสูจน์ได้ว่าผลการตอบของผู้สอบได้มาจาก
กระบวนการคิดหาค�ำตอบด้วยข้ันตอนที่เหมาะสมหรือไม่ หรือสอดคล้องกับสมมติฐานของผู้ออกข้อสอบ
หรือไม่ เช่น การวัดความรู้ทางวิทยาศาสตร์โดยให้นักเรียนท�ำการทดลองด้วยตนเอง และให้เขียนข้อสรุปจาก
ผลการทดลอง หรือการวัดการคิดแก้ปัญหาของผู้เรียนคนหน่ึงท่ีเขียนค�ำตอบลงในกระดาษค�ำตอบ หาก
ผู้วัดไม่ทราบวิธีการคิดหาค�ำตอบหรือวิธีการได้มาซ่ึงค�ำตอบของนักเรียน จะไม่ทราบเลยว่าการตอบน้ัน
สะท้อนความสามารถท่ีแท้จริงหรือไม่ เช่น ไม่มั่นใจว่าผลการแก้ปัญหาเป็นความสามารถในการแก้ปัญหา
ท่ีแท้จริงหรือไม่ กรณีที่ไม่สะท้อนการคิดแก้ปัญหาของผู้สอบ สาเหตุอาจเป็นไปได้ว่า ผู้สอบท�ำข้อสอบโดย
ไมไ่ ดแ้ สดงความสามารถในการคดิ แกป้ ญั หาเลยกไ็ ด้ ซง่ึ คำ� ตอบทไี่ ดม้ าอาจมาจากการจำ� คำ� พดู ของครมู าตอบ
การเดาเพราะไม่ต้ังใจสอบ หรือเป็นเพราะการเดาเพราะไม่เข้าใจค�ำถามหรือไม่เข้าใจสถานการณ์ในข้อสอบ
ดังน้ันการวัดคุณลักษณะที่เกี่ยวข้องกับทักษะทางสมอง ควรมีการศึกษาวิธีการได้มาซ่ึงค�ำตอบของผู้สอบ
เพื่อตรวจสอบว่าสถานการณ์หรือส่ิงเร้าในข้อค�ำถามได้เอื้อให้ผู้สอบแสดงความรู้ความสามารถได้หรือไม่
ประเด็นส�ำคัญของการตรวจสอบกระบวนการตอบของผู้สอบคือ 1) การตรวจสอบว่าวิธีการได้มาซึ่งค�ำตอบ