Page 109 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 109
การออกแบบการวิจัย 3-99
5.4 ความเหมาะสมของการกำ� หนดคะแนนจดุ ตดั ความเหมาะสมของการกำ� หนดจดุ ตดั อาจพจิ ารณา
จากวิธีการที่ใช้หาจุดตัดว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ คุณสมบัติของผู้เช่ียวชาญที่เข้าร่วมกระบวนการหาจุดตัด
กระบวนการก�ำหนดจุดตัดแต่ละข้ันตอน และความคลาดเคล่ือนในการจ�ำแนกผู้สอบ ซ่ึงประเด็นเหล่านี้ได้
อธิบายไว้ในหน่วยท่ี 13 แล้ว
5.5 คุณภาพของจุดตัด โดยอาจพิจารณาได้จากความถูกต้องและความคลาดเคลื่อนของการจัด
จ�ำแนกผู้สอบ จุดตัดที่ดีควรมีความคลาดเคลื่อนในการจ�ำแนกผู้สอบต่�ำ คือ จ�ำแนกผู้สอบได้ถูกต้อง
5.6 ผลกระทบต่อการเรียนการสอนของครู บางครั้งการใช้คะแนนมีผลต่อการสอนของครู เช่น การ
ใช้คะแนน O-NET ประเมินคุณภาพของสถานศึกษา ครูอาจปรับการสอนท้ังในทิศทางที่ดีข้ึน หรือไม่ดีก็ได้
เช่น การตั้งใจสอนมากข้ึน หรือการสอนเฉพาะเนื้อหาที่มีในข้อสอบ เป็นต้น
จะเหน็ วา่ หลกั ฐานในการตรวจสอบความตรงมีจำ� นวนมาก และในทางปฏิบัติเราจะไมส่ ามารถทำ� การ
ตรวจสอบหลักฐานเหล่านี้ได้ทุกรายการ แต่อย่างไรก็ตาม ถึงจะไม่มีข้อสรุปอย่างชัดเจนว่าควรน�ำหลักฐาน
ใดบ้างมาพิจารณาเพ่ือประเมินความตรง หรือการประเมินความเหมาะสม ข้อเสนอท่ีดีท่ีสุดคือ การเลือกหลัก
ฐานใดมาใช้พิจารณาควรข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์ของการทดสอบเป็นส�ำคัญ ผู้ใช้ผลการทดสอบต้องพิจารณา
เลือกว่าหลักฐานใดสอดคล้องกับเป้าหมายของการใช้ผลคะแนน และเลือกหลักฐานน้ันมาพิจารณาความ
เหมาะสมของการแปลผล และการใช้ผลการวัด
หลังจากศกึ ษาเน้อื หาสาระเรอ่ื งท่ี 3.6.1 แล้ว โปรดปฏบิ ัติกิจกรรม 3.6.1
ในแนวการศกึ ษาหน่วยที่ 3 ตอนท่ี 3.6 เร่อื งที่ 3.6.1
เรอ่ื งท่ี 3.6.2 การออกแบบการวจิ ัยการจำ� ลองข้อมลู เกีย่ วกบั
ประเดน็ ทางการวดั และประเมินผลการศกึ ษา
การวิจัยเก่ียวกับประเด็นทางการวัดและประเมินผลการศึกษาสามารถท�ำได้สองแนวทาง แนวทาง
แรก คอื การวจิ ยั โดยใชข้ อ้ มลู จรงิ ซง่ึ ผวู้ จิ ยั ตอ้ งพฒั นาเครอ่ื งมอื วจิ ยั และเกบ็ ขอ้ มลู จากกลมุ่ ตวั อยา่ ง แนวทาง
ท่ีสอง คือ การศึกษาจากข้อมูลจ�ำลองด้วยคอมพิวเตอร์ โดยนักวิจัยไม่ต้องเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง การ
ศึกษาท่ีใช้ข้อมูลจริงสามารถใช้การออกแบบการวิจัยท่ีอธิบายก่อนหน้าน้ีได้ ผู้เขียนจึงไม่น�ำเสนอรายละเอียด
ของการวิจัยด้วยข้อมูลจริงในตอนท่ี 3.6 น้ี แต่จะเน้นรายละเอียดของการออกแบบการวิจัยที่ใช้ข้อมูลจ�ำลอง