Page 114 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 114

3-104 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา

เง่ือนไขจะจ�ำลองข้อมูล 100 ชุด ดังนั้น จากตารางที่ 3.11 นักวิจัยต้องจ�ำลองข้อมูลข้ึนมารวม 900 ชุด

(คิดจากจ�ำนวนเง่ือนไขคูณจ�ำนวนชุดที่ต้องการ หรือ 9 × 100 = 900)

จ�ำนวนชุดของการจ�ำลองเป็นประเด็นที่มีผลต่อคุณภาพของการศึกษา โดยทั่วไปการก�ำหนดจ�ำนวน

ครั้งของการจ�ำลอง มักจะก�ำหนดให้มีจ�ำนวนครั้งมาก ๆ เช่น 1,000 รอบ แต่โดยทั่วไปนักวิจัยท�ำได้ไม่ถึง

1,000 รอบ เน่ืองจากมีความยากล�ำบากและใช้เวลาในการด�ำเนินการ ดังนั้น นักวิจัยจึงก�ำหนดให้มีจ�ำนวน

รอบของการศึกษา ดังสูตร

				                                             2

                        n  =                 σ    +1
                                             σM

       เมื่อ σ คือ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของพารามิเตอร์ท่ีประมาณค่าได้ และ σM คือ ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานของค่าเฉลี่ย

       นอกจากน้ียังมีเกณฑ์ท่ัวไปของการก�ำหนดจ�ำนวนรอบของการท�ำซ้�ำไว้ เช่น Harwell และคณะ
ก�ำหนดว่า ในการศึกษาโมเดล IRT ควรท�ำซ้�ำอย่างน้อย 25 รอบ

       4.	 การวเิ คราะหแ์ ละการรายงานผลการจำ� ลองขอ้ มลู การวิเคราะห์ข้อมูลจากการจ�ำลองข้อมูลมักจะ
ศึกษาคุณภาพของค่าพารามิเตอร์ท่ีประมาณค่าได้ (estmiated parameter: θ) ซึ่งประเมินจากความ
แตกต่างของพารามิเตอร์ท่ีประมาณค่าได้จากข้อมูลจ�ำลองกับพารามิเตอร์จริง (true parameter หรือ θTrue)
ที่ก�ำหนดขึ้นก่อนการจ�ำลองข้อมูล ซึ่งการวิเคราะห์มักจะรายงานค่าความล�ำเอียง (Bias), MAD, SE, MSE
และ RMSE

            1)	ความล�ำเอียง (Bias) คือ ค่าเฉล่ียความแตกต่างระหว่างพารามิเตอร์ท่ีประมาณค่าได้กับ
พารามิเตอร์จริง โดยค�ำนวณจาก

                        Bias  =   Sin=1(θin— θTrue)

                เม่ือ n คือ จ�ำนวนรอบของการวิเคราะห์ซ้�ำ
            2)	MAD คือ ค่าเฉลี่ยของค่าสัมบูรณ์ความแตกต่างระหว่างพารามิเตอร์ที่ประมาณค่าได้กับ
พารามิเตอร์จริง โดยค�ำนวณจาก

                        MAD  =               S in=1 ⏐θni  —  θ1 True⏐
                                                          —

      เมื่อ n คือ จ�ำนวนรอบของการวิเคราะห์ซ้�ำ
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119