Page 100 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 100
3-90 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
ตอนท่ี 3.6
การออกแบบวิจัยด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา
โปรดอา่ นแผนการสอนประจ�ำตอนท่ี 3.6 แลว้ จึงศึกษาเน้อื หาสาระ พร้อมปฏบิ ัตกิ ิจกรรมในแตล่ ะเร่ือง
หวั เร่อื ง
เรื่องที่ 3.6.1 ขอบเขตของการวิจัยด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา
เรื่องที่ 3.6.2 ก ารออกแบบการวิจัยการจ�ำลองข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นทางการวัดและประเมิน
ผลการศึกษา
เร่ืองที่ 3.6.3 ตัวอย่างการออกแบบการวิจัยการจ�ำลองข้อมูลเพ่ือการศึกษาประเด็นทางการ
วัดและประเมินผลการศึกษา
แนวคิด
1. ข อบเขตของการศึกษาวจิ ยั ด้านการวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษาตามมาตรฐานการทดสอบ
ทางการศึกษาและจิตวิทยา ประกอบด้วย การศึกษาด้านความเหมาะสมของการแปลผล
การวัดและการใช้ผลการวัด (validity) ซ่ึงเป็นการศึกษาเพื่อรวบรวมหลักฐานเพื่อใช้
ประเมินความเหมาะสมของการแปลผลและการใช้คะแนน จ�ำนวน 5 ด้าน คือ หลักฐาน
ด้านเน้ือหา หลักฐานด้านกระบวนการตอบ หลักฐานด้านโครงสร้างภายใน หลักฐานเก่ียว
กับความสัมพันธ์กับตัวแปรอื่น และหลักฐานเก่ียวกับผลกระทบของการใช้คะแนน
2. การออกแบบการวิจัยด้วยการจ�ำลองข้อมูลช่วยในการศึกษาด้านการประมาณค่าของ
พารามิเตอร์ท่ีต้องการศึกษา ซ่ึงเป็นวิธีการท่ีมีประสิทธิภาพในการศึกษาเก่ียวกับการ
ประมาณคา่ พารามเิ ตอรเ์ พราะชว่ ยขจดั อทิ ธพิ ลของตวั แปรอนื่ ออก จงึ สามารถศกึ ษาตวั แปร
หรือประเด็นท่ีต้องการศึกษาได้อย่างชัดเจนมากกว่าการใช้ข้อมูลการทดสอบจริง
3. ต วั อยา่ งการออกแบบการวจิ ยั ดา้ นการวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษาโดยใชก้ ารจำ� ลองขอ้ มลู
ทน่ี ำ� เสนอมี 2 ตวั อยา่ ง คอื การวจิ ยั เพอ่ื ศกึ ษาจำ� นวนกลมุ่ ตวั อยา่ งขนั้ ตำ�่ สำ� หรบั สมั ประสทิ ธ์ิ
แอลฟาของครอนบาค และการศึกษาประสิทธิภาพของการประมาณค่าพารามิเตอร์ของ
โมเดล IRT แบบ 1, 2 และ 3 พารามิเตอร์