Page 32 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 32

6-22 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา

กำ�หนด 5 ระดบั                              กำ�หนด 4 ระดบั            กำ�หนด 3 ระดบั
                                                                      --
เหน็ ดว้ ยอย่างยง่ิ มากท่ีสุด    เหน็ ดว้ ยอยา่ งย่ิง มากท่สี ดุ   เห็นด้วย มาก
                                                                   ไม่แน่ใจ ปานกลาง
เห็นด้วย        มาก                         เห็นด้วย        มาก   ไม่เห็นด้วย น้อย
                                                                      --
ไม่แน่ใจ     ปานกลาง                        --

ไม่เห็นด้วย     น้อย                        ไม่เห็นด้วย     น้อย

ไม่เห็นด้วยอย่างย่ิง น้อยที่สุด  ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง น้อยที่สุด

       ขั้นตอนการสร้างและตรวจสอบมาตรวัดแบบลิเคิร์ท แบ่งได้เป็น 3 ระยะ คือ
       2.1 	การวางแผนสร้างมาตรวดั แบบลิเคริ ์ท

            2.1.1 	กำ� หนดสง่ิ ทตี่ อ้ งการวดั วา่ วดั อะไร กบั ใคร เชน่ วดั ความคดิ เหน็ ของประชาชนตอ่ ละคร
ทางโทรทศั น์ วดั เจตคตขิ องนกั เรยี นเกย่ี วกบั การเรยี นวชิ าภาษาองั กฤษ วดั คา่ นยิ มในการใชส้ นิ คา้ ไทย เปน็ ตน้

            2.1.2 	ศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎี ผลการศกึ ษาเกย่ี วกบั สิ่งท่ีจะวดั ว่าส่งิ ท่ตี อ้ งการวดั มีความหมาย
อย่างไร มีองค์ประกอบหรือโครงสร้างแบบใด ตัวชี้วัดคืออะไรบ้าง

       2.2 	การด�ำเนินการสร้างมาตรวัดแบบลิเคริ ์ท
            2.2.1 	ก�ำหนดความหมาย ตัวชี้วัด และพฤติกรรมที่บ่งช้ี ของคุณลักษณะเจตพิสัยจากที่ได้

ศึกษาค้นคว้ามา ก�ำหนดความหมายเขียนเป็นนิยามปฏิบัติการ ตัวชี้วัดของเป้าหมายการวัด (สิ่งท่ีต้องการ
วัด) ว่าผู้ที่มีเจตพิสัยต่อเป้าหมายมีการแสดงออกอย่างไร

            2.2.2 	เขียนข้อความท่ีครอบคลุมทุกตัวชี้วัดของเป้าหมายการวัด (ส่ิงที่ต้องการวัด) ข้อความ
ต้องเป็นทางบวกหมดหรือทางลบหมด หรือผสมกันก็ได้ ขึ้นกับสิ่งท่ีต้องการวัด หากเป็นการวัดเจตคติต้อง
มีทั้งข้อความท้ังทางบวกและลบ แต่ละองค์ประกอบต้องมีหลายข้อความ เพื่อให้เกิดความเที่ยง น่าเชื่อถือ
มากขนึ้ ขอ้ ความทดี่ คี วรรวบรวมความคดิ เหน็ จากการสมั ภาษณ์ หรอื จากคำ� ตอบของกลมุ่ ทใ่ี กลเ้ คยี งกบั กลมุ่
คนเป้าหมายการวัด ลักษณะของข้อความควรเป็นดังนี้

                1) 	ข้อความต้องมีลักษณะเป็นความเช่ือและรู้สึกต่อเป้าหมาย
                2) 	ไม่ใช่เป็นข้อเท็จจริง (fact) ส�ำหรับข้อความที่ตัดสินถูกผิดได้จะไม่น�ำมาใช้
                3) 	ข้อความเดียวควรมีความเช่ือเดียว
                4) 	ข้อความชัดเจน กระชับ ส้ัน ให้ข้อมูลพอตัดสินได้
                5) 	ควรหลกี เลยี่ งคำ� ปฏเิ สธซอ้ น ขอ้ ความอา้ งองิ ในอดตี ทผ่ี า่ นมา และหลกี เลยี่ งขอ้ ความ
ท่ีมีค�ำว่า “ทั้งหมด” “เสมอ ๆ” “ไม่เคย” “ไม่มีเลย” “เพียงเท่าน้ัน”
            การตรวจสอบข้อความเป็นการตรวจสอบขั้นแรก เพ่ือดูให้แน่ชัดว่าข้อความนั้นเขียนไว้
เหมาะสมดีหรือไม่ การเขียนการแสดงออกในมาตรวัดแบบลิเคิร์ทท่ีนิยมใช้ เช่น
       ตัวอย่างเครื่องมือวัด ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community:
PLC) (สุรีรัตน์ รอดแผ้วพาล, 2561, น. 7)
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37