Page 27 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 27

การวัดด้านเจตพิสัย 6-17

       1.4 	การออกแบบวิธีการและเคร่ืองมือวัดเจตพิสัย เคร่ืองมือวัดต้องให้สอดคล้องกับพฤติกรรม
การวัด เหมาะสมกับสถานการณ์หรือกลุ่มเป้าหมายในการน�ำไปใช้

       1.5 	วัดต่อเน่ืองหลายครั้ง เน่ืองจากคุณลักษณะด้านเจตพิสัยอาจเปล่ียนแปลงได้ตามสถานการณ์
       1.6 	ความร่วมมือของผู้ที่ถูกวัด การวัดด้านเจตพิสัยเป็นการวัดพฤติกรรมส่วนตัวของบุคคล
บางคนอาจไม่ต้องการเปิดเผยความจริง เพราะเกรงจะเกิดผลเสียแก่ตน
       1.7 	ใช้ผลการวัดให้ถูกต้อง การวัดด้านเจตพิสัยไม่มีค�ำตอบท่ีถูกหรือผิด

2. 	ขั้นตอนการสร้างเคร่อื งมือวดั ดา้ นเจตพสิ ยั

       ขนั้ ตอนการสรา้ งและตรวจสอบเครอื่ งมอื เจตพสิ ยั แบง่ ไดเ้ ปน็ 3 ระยะ คอื การวางแผนสรา้ งเครอ่ื งมอื
การด�ำเนินการสร้างเครื่องมือ และการตรวจสอบคุณภาพและแปลผลการวัดเจตพิสัย รายละเอียดมีดังนี้

       2.1 	การวางแผนสร้างเครอ่ื งมอื
            2.1.1 	กำ� หนดสงิ่ ทต่ี อ้ งการวดั ว่าวัดอะไร กับใคร เป้าหมายการวัดคือเรื่องใด เป็นการก�ำหนด

ขอบเขตการวัด เช่น วัดเจตคติของนักเรียนเก่ียวกับการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ วัดเจตคติของประชาชน
ต่อละครทางโทรทัศน์ เป็นต้น  

            2.1.2	 ศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎี ผลการศกึ ษาเกยี่ วกบั เจตพสิ ยั เปา้ หมายการวดั เรมิ่ ดว้ ยการคน้ ควา้
ศึกษาส่ิงที่เป็นเป้าหมายว่ามีความหมายอย่างไร มีองค์ประกอบหรือโครงสร้างแบบใด เพื่อให้เข้าใจส่ิงที่
ต้องการวัดให้ถ่องแท้ หากเป็นการวัดกับนักเรียน จ�ำเป็นต้องวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตร
เพื่อเป็นแนวทางในการก�ำหนดความหมาย ตัวช้ีวัด และพฤติกรรมท่ีบ่งช้ีของเป้าหมายส่ิงที่ต้องการ

       2.2 	การด�ำเนนิ การสร้างเครื่องมอื เจตพิสัย
            2.2.1 ก�ำหนดความหมาย ตัวช้ีวัด และพฤติกรรมท่ีบ่งช้ี ของคุณลักษณะเจตพิสัยจากที่ได้

ศึกษาค้นคว้ามา ส�ำหรับก�ำหนดความหมายเขียนเป็นนิยามปฏิบัติการ ตัวช้ีวัดของเป้าหมายการวัด ว่าผู้ที่มี
เจตพิสัยต่อเป้าหมายมีการแสดงออกอย่างไร

            2.2.2 	ออกแบบวธิ กี ารวดั /เครอ่ื งมอื และกำ� หนดเกณฑก์ ารประเมนิ เมอื่ ไดค้ วามหมาย ตวั ชว้ี ดั
และพฤติกรรมบ่งช้ีแล้วจึงออกแบบวิธีการวัดให้เหมาะสมกับเจตพิสัยท่ีต้องการวัด (อะไร) ผู้ถูกวัด (ใคร)
สถานการณ์การวัด (ท่ีไหน) ค�ำนึงถึงข้อจ�ำกัดในการวัด เช่น จ�ำนวนคนที่วัด เวลาที่ใช้ในการวิธีการวัด
ส่วนเกณฑ์การประเมินอาจเขียนในลักษณะ rubric คือ ระบุพฤติกรรมจ�ำแนกตามระดับเจตพิสัย

            2.2.3 	เขียนค�ำถามหรือรายการตามโครงสร้าง/องค์ประกอบของสิ่งท่ีวัด เครื่องมือวัด ได้แก่
แบบวัดสถานการณ์ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ มาตรประมาณค่า สังคมมิติ เป็นต้น เช่น การวัดเจตคติ
ค่านิยม ถ้าผู้สร้างเลือกใช้เคร่ืองมือท่ีเป็นแบบสอบถามมาตรประมาณค่า ต้องเขียนข้อความทั้งทางบวกและ
ลบทแี่ สดงถงึ เจตคตติ อ่ เปา้ หมายตามองคป์ ระกอบของสง่ิ นนั้ ขอ้ ความตอ้ งมลี กั ษณะเปน็ ความเชอ่ื ความรสู้ กึ
ไม่ใช่เป็นข้อเท็จจริง ส่วนการวัดคุณธรรม จริยธรรม ถ้าผู้สร้างเลือกใช้เคร่ืองมือที่เป็นแบบบันทึกการสังเกต
ต้องเขียนรายการสังเกตครอบคลุมตัวชี้วัดในคุณธรรม จริยธรรมเรื่องน้ัน
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32