Page 17 - การวิจัยเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
P. 17
สถิติเพื่อการวิจัยเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 12-7
ความพึงพอใจ อายุ รายได้ น้ําหนัก ส่วนสูง ฯลฯ สามารถวัดค่าออกมาเป็นตัวเลขที่แสดงค่าต่อเน่ืองเป็น
ทศนิยมได้ และตัวแปรไม่ต่อเนื่อง (Discrete variable) ซ่ึงวัดค่าออกมาเป็นตัวเลขที่ไม่มีค่าต่อเนื่อง เช่น
เพศ อาชีพ จ�ำนวนนับ 1, 2, 3 คน ฯลฯ
2) ตวั แปรเชงิ คณุ ภาพหรอื ตวั แปรเชงิ คณุ ลกั ษณะ (Qualitative Variable) หมายถึง ตัวแปรท่ี
ไม่สามารถวัดค่าออกมาเป็นตัวเลขได้ เช่น เพศ แบ่งเป็น เพศชาย และเพศหญิง ภูมิล�ำเนา แบ่งออกเป็น
ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นต้น
มาตรวัดตัวแปร สามารถจ�ำแนกประเภทเป็น 4 ระดับ ดังนี้ มาตรวัดแบบกลุ่ม มาตรวัดแบบจัด
อันดับ มาตรวัดแบบอันตรภาค และมาตรวัดแบบอัตราส่วน
1) มาตรวัดแบบกลุ่ม หรือนามบัญญัติ (Nominal Scale) เป็นมาตรวัดตัวแปรท่ีใช้แบ่งกลุ่ม
หรือเรียกช่ือของส่ิงท่ีศึกษาออกเป็นกลุ่ม เช่น เพศ แบ่งออกเป็น เพศชาย และเพศหญิง แต่ไม่สามารถบอก
ว่าเพศชายมากกว่าเพศหญิงเท่าไร ตัวแปรระดับกลุ่มไม่สามารถบวกลบทางคณิตศาสตร์ได้
สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ฐานนิยม ไคสแควร์
2) มาตรวัดแบบจัดอันดับ (Ordinal Scale) เป็นมาตรวัดตัวแปรท่ีบอกต�ำแหน่ง ทิศทาง แต่
ไม่สามารถบอกระยะห่างได้ เช่น วุฒิการศึกษา แบ่งเป็น ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก สามารถบอก
ได้ว่าวุฒิการศึกษาใดสูงกว่ากัน แต่ไม่สามารถน�ำวุฒิการศึกษามาบวกลบทางคณิตศาสตร์ได้
สถิติที่ใช้ ได้แก่ มัธยฐาน เปอร์เซ็นต์ไทล์ และสหสัมพันธ์แบบจัดอันดับ
3) มาตรวดั แบบอตั รภาค (Interval Scale) เป็นมาตรวัดตัวแปรท่ีบอกปริมาณความมากน้อย
หรือความห่างของข้อมูลได้ เช่น คะแนนสอบ 5 คะแนน 10 คะแนน บอกได้ว่ามากกว่ากัน 10 — 5 = 5
คะแนน แตไ่ มส่ ามารถบอกไดว้ า่ มคี วามรเู้ ปน็ 2 เทา่ หรอื ตวั แปรในมาตรวดั แบบลเิ คริ ท์ (Likert scale) ทแ่ี บง่
เปน็ มาก ปานกลาง นอ้ ย ตัวแปรระดับอตั รภาคสามารถบวกลบทางคณิตศาสตร์ได้ แตไ่ มส่ ามารถคณู หารได้
สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉล่ีย t-test ANOVA และสหสัมพันธ์
4) มาตรวดั แบบอตั ราสว่ น (Ratio Scale) เป็นมาตรวัดตัวแปรท่ีบอกปริมาณความห่างและมี
ศูนย์แท้ เช่น รายได้ น้ําหนัก ส่วนสูง ตัวแปรนี้น�ำมาบวก ลบ คูณ หาร ทางคณิตศาสตร์ได้ เช่น ผู้ท่ีมีนํ้าหนัก
100 กิโลกรัม หนักเป็น 2 เท่าของผู้มีน้ําหนัก 50 กิโลกรัม เป็นต้น
สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉล่ีย t-test ANOVA และสหสัมพันธ์
ดังน้ัน นักวิจัยสามารถออกแบบการวัดตัวแปรให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ในการวิจัยเพ่ือเลือก
สถิติมาวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างเหมาะสมต่อไป
หลงั จากศึกษาเนอ้ื หาสาระเรอื่ งท่ี 12.1.1 แลว้ โปรดปฏิบัติกิจกรรม 12.1.1
ในแนวการศกึ ษาหนว่ ยท่ี 12 ตอนที่ 12.1 เร่อื งที่ 12.1.1