Page 54 - การวิจัยเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
P. 54
12-44 การวิจัยเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
หลังจากการทดสอบประสิทธิภาพแบบกลุม่ แล้ว ผวู้ ิจัยไดส้ ัมภาษณผ์ ู้รับการอบรมจำ� นวน 6 คนและ
ได้น�ำผลที่ได้มาปรับปรุงดังน้ี คือ (1) เพิ่มรายละเอียดเก่ียวกับเอกสารอ่านประกอบในส่วนท่ีเป็นกรณีศึกษา
ควรให้รายละเอียดเก่ียวกับคุณลักษณะส่ือในดีวีดี (2) เพิ่มสูตรการทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และค่าเบ่ียงเบน
มาตรฐานในเอกสารอ่านประกอบ และ (3) ได้แทรกภาพและข้อความประกอบการบรรยายของวิทยากรใน
ดีวีดี
ตารางที่ 12.14 การทดสอบประสทิ ธิภาพชุดฝึกอบรมทางไกลแบบอิงประสบการณ์ภาคสนาม (n = 53)
หน่วยประสบการณท์ ี่ คะแนนกิจกรรมระหว่าง คะแนนทดสอบ E1/E2
อบรม หลังอบรม
1 รอ้ ยละ (E2) 81.08/82.20
2 ร้อยละ (E1) 82.20 80.20/81.33
81.08 81.33
80.20
3. ผลความก้าวหน้าทางการอบรมของผู้รับการอบรมท่ีอบรมด้วยชุดฝึกอบรมทางไกลแบบอิง
ประสบการณ์ เรื่องการทดสอบประสิทธิภาพส่ือการสอน ในการทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนาม พบว่า
ผู้รับการอบรมมีความก้าวหน้าทางการอบรมเพ่ิมข้ึนจากเดิม โดยผู้รับการอบรมมีคะแนนทดสอบหลังอบรม
สูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนอบรมทั้งสองหน่วยประสบการณ์อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 (ผลการ
วิเคราะห์ข้อมูลในส่วนนี้ เป็นการใช้สถิติอ้างอิง คือ t-test ดังตารางที่ 12.15)
ตารางที่ 12.15 ความกา้ วหนา้ ของผู้รบั การอบรมดว้ ยชุดฝึกอบรมทางไกลแบบอิงประสบการณ์
แบบภาคสนาม (n = 53)
หน่วยประสบการณท์ ี่ คะแนนเฉลย่ี กอ่ นอบรม คะแนนเฉลีย่ หลงั อบรม t
(10 คะแนน) (10 คะแนน)
1 13.10*
2 X S.D. X S.D. 10.25*
4.84 1.27 8.03 1.11
4.68 1.19 8.10 1.22
*p < .05
4. ผลความคิดเห็นของผู้รับการอบรมที่มีต่อชุดฝึกอบรมทางไกลแบบอิงประสบการณ์ เร่ืองการ
ทดสอบประสิทธิภาพส่ือการสอนในการทดสอบประสิทธิภาคแบบภาคสนาม พบว่า (1) องค์ประกอบต่าง ๆ
ท่ีมีในชุดฝึกอบรมทางไกลแบบอิงประสบการณ์มีความเหมาะสมในระดับมากถึงมากที่สุด (ดังตารางที่ 12.16)