Page 41 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 41
วกิ ฤตการณท์ างเศรษฐกจิ พ.ศ. 2540 กับการเมืองและเศรษฐกจิ ไทย 12-31
ชว่ ยเหลอื จนถงึ สน้ิ ปี 254331 ตลอดจนรฐั บาลออกมาตรการเพอื่ ชว่ ยเหลอื สภาพคลอ่ งใหแ้ กร่ ะบบเศรษฐกจิ
ผ่านการเพิ่มทุนให้สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล เช่น ธนาคารกรุงไทย จำ� กัด (มหาชน) บรรษัท
เงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (IFCT) ธนาคารออมสิน ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์
การเกษตร (ธกส.) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) เพอ่ื ใหม้ กี ารปลอ่ ยสนิ เชอื่ ส�ำหรบั ประชาชนโดยทว่ั ไป
ในลกั ษณะ micro credit ทสี่ �ำคญั การรบั รองจากรฐั บาลวา่ สถาบนั การเงนิ จะไมล่ ม้ สง่ ผลดตี อ่ ความเชอื่ มนั่
ของสถาบันการเงินให้กลับมาทำ� หน้าสนบั สนนุ สภาพคลอ่ งด้วยการใหส้ นิ เชือ่ กับภาคการผลติ จริงไดท้ ำ� ให้
ระบบเศรษฐกิจกลับมาท�ำงานเต็มระบบได้อีกครัง้ ต่อมา
ประการทสี่ อง รฐั บาลดำ� เนนิ มาตรการปรบั ปรงุ โครงสรา้ งหนแ้ี ละแกไ้ ขปญั หาหนที้ ไี่ มก่ อ่ ใหเ้ กดิ
รายได้ มวี ตั ถปุ ระสงคส์ นบั สนนุ การประนอมหนร้ี ะหวา่ งสถาบนั การเงนิ กบั ผปู้ ระกอบการทมี่ ศี กั ยภาพทจี่ ะ
ดำ� เนนิ ธรุ กจิ ตอ่ ได้ และเรง่ แกไ้ ขหนไ้ี มก่ อ่ ใหเ้ กดิ รายไดข้ องสถาบนั การเงนิ ใหส้ ามารถดำ� เนนิ กจิ การตอ่ ไปได้
ท้ังลูกหน้ีและเจ้าหน้ีด้วยการปรับปรุงโครงสร้างหน้ีให้หนี้ด้อยคุณภาพสามารถกลับมาเป็นหนี้ที่ก่อรายได้
อีกคร้ังและท�ำให้สถาบันการเงนิ มีทนุ เพยี งพอจะใหก้ ูต้ อ่ ไปได้เพอื่ เสริมสภาพคล่อง
รฐั บาลเลอื กดำ� เนนิ นโยบายอตั ราดอกเบย้ี ตำ่� ทำ� ใหต้ น้ ทนุ ทางการเงนิ ของธนาคารพาณชิ ยต์ ำ�่ และ
อตั ราดอกเบี้ยสนิ เชื่อต�่ำ ซง่ึ จะเออ้ื ประโยชนใ์ นการประนอมหน้ไี ด้งา่ ยขึ้น รฐั บาลจดั ตัง้ คณะกรรมการเพื่อ
ส่งเสริมและปรับปรุงโครงสร้างหน้ี (คปน.)ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2541 บริหารงานโดยธนาคารแห่ง
ประเทศไทย รฐั บาลออกพระราชกำ� หนดบรษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรพั ยส์ ถาบนั การเงนิ พ.ศ. 2541 เพอื่ ใหธ้ นาคาร
พาณิชย์และสถาบันการเงินแยกสินทรัพย์ส่วนท่ีดีกับส่วนท่ีไม่ดีออกจากกัน รัฐบาลส่งเสริมการปรับปรุง
โครงสรา้ งหนีโ้ ดยมาตรการทางภาษี เชน่ ยกเวน้ ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล ยกเว้นภาษมี ูลคา่ เพิ่ม ยกเวน้ ภาษี
ธรุ กจิ เฉพาะและอากรแสตมป์ ใหแ้ กล่ กู หน้ี เจา้ หนสี้ ถาบนั การเงนิ และเจา้ หนอ้ี น่ื สำ� หรบั เงนิ ไดท้ ไ่ี ดร้ บั จาก
การปรบั ปรงุ โครงสรา้ งหนี้ รฐั บาลออกกฎหมายและปรบั ปรงุ กฎหมายตา่ งๆ เพอ่ื ใหก้ ารปรบั ปรงุ โครงสรา้ ง
หนแี้ ละการฟน้ื ฟกู จิ การเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขนึ้ โดยตราพระราชบญั ญตั จิ ดั ตงั้ ศาลลม้ ละลาย
และวธิ กี ารพิจารณา พ.ศ. 2542 เพอื่ ให้คดลี ้มละลายกลายเป็นคดฟี ้นื ฟกู จิ การ32
นอกจากนรี้ ฐั บาลสามารถเรมิ่ ใชน้ โยบายการคลงั แบบขาดดลุ ตงั้ แตเ่ ดอื นมนี าคม พ.ศ. 2541 โดย
เรง่ รดั การเบกิ จา่ ยของภาครฐั เพอื่ ชว่ ยกระตนุ้ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และลดปญั หาการขาดสภาพคลอ่ งของ
ภาคเอกชน ดำ� เนนิ การกระตนุ้ เศรษฐกจิ และบรรเทาผลกระทบทางสงั คม เมอื่ วนั ท่ี 30 มถิ นุ ายน 2542 ซงึ่
ประกอบด้วย 3 มาตรการ คือ หน่ึง มาตรการเพ่มิ การใชจ้ า่ ยภาครัฐเพือ่ กระต้นุ เศรษฐกิจจากเงนิ ใชจ้ ่าย
ภาครัฐที่ได้จากเงินกู้ต่างประเทศ สอง มาตรการภาษีเพ่ือกระตุ้นเศรษฐกิจโดยลดภาษีมูลค่าเพิ่มจาก
รอ้ ยละ 10 เปน็ ร้อยละ 7 และยกเลกิ เก็บภาษมี ูลค่าเพิ่มส�ำหรับกิจการรายย่อย สาม มาตรการภาษีเพ่ือ
ส่งเสริมการลดราคาพลังงานปัจจัยการผลิตอย่างน้�ำมันเตาท่ีลดภาษีสรรพสามิตจากร้อยละ 17.5 เหลือ
31 ธารินทร์ นิมมานเหมนิ ท์ พิเชษฐ พันธว์ุ ิชาติกลุ และพสิ ฐิ ล้ีอาธรรม, แนวทางการแกไ้ ขวกิ ฤตเศรษฐกิจไทยของรัฐบาล
ชวน 2 พฤศจิกายน 2540-ธนั วาคม 2543, (กรงุ เทพฯ: กระทรวงการคลงั , 2544), 86-87.
32 พรรคประชาธปิ ตั ย,์ สรปุ ผลงานเดน่ รฐั บาลประชาธปิ ตั ย์ นายชวน หลกี ภยั , (กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั พมิ พด์ กี ารพมิ พ์ จำ� กดั ,
ม.ป.ป.), 13.