Page 16 - ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์
P. 16

2-6 ทฤษฎแี ละการวจิ ารณ์ภาพยนตร์
สนใจภาพยนตรอ์ กี วาระหนง่ึ ผบู้ กุ เบกิ สรา้ งภาพยนตรใ์ นแนวใหมน่ ี้ คอื จอรจ์ เมลแิ อส์ (George Melies)
เป็นชาวฝรั่งเศสเชน่ กัน ภาพยนตรใ์ นแนวน้แี ตกตา่ งจากภาพยนตรข์ องลมู แิ อร์โดยส้นิ เชงิ มีผูย้ ึดถอื สร้าง
ตามแบบอยา่ งกนั เร่ือยมาเปน็ ภาพยนตร์บันเทงิ (feature film) เชน่ ท่เี ป็นอยู่ จนกล่าวว่าเมลิแอรค์ ือผู้นำ�
ของภาพยนตร์ในแนวรูปแบบนิยม ภาพยนตร์ที่เขาสร้าง ได้แก่ เรื่องท่องเท่ียวดวงจันทร์ (Le Voyage
dans la Lune (1902) หรอื A Trip to the Moon) ภาพยนตรเ์ ร่อื งนส้ี ร้างจากนวนยิ ายของจูลส์ เวิรน์
(Jules Verne) นอกจากนี้ก็มเี ร่อื ง คนถอดหวั (L’ Homme a la tete de Caoutchoue (1902) หรอื
The Man with the Indian Rubber Head) เร่ือง สองหม่ืนโยชนใ์ ตท้ ะเล (200,000 Lieues sous les
Mers หรอื 20,000 Leagues Under the Sea) เปน็ ต้น

       ภาพยนตรแ์ นวสจั นยิ มเกดิ ขนึ้ กอ่ นภาพยนตรแ์ นวรปู แบบนยิ มกจ็ รงิ แตส่ ำ� หรบั ทฤษฎภี าพยนตร์
น้ันทฤษฎีแรกที่ก่อตัวขึ้นกลับเป็นทฤษฎีในแนวรูปแบบนิยม โดยเร่ิมจากการที่มีผู้สังเกตภาพยนตร์แล้ว
เขยี นหนงั สอื เผยแพร่ความคดิ ในมมุ มองของศลิ ปะและจติ วทิ ยา

       ทฤษฎภี าพยนตรไ์ ดเ้ รม่ิ กอ่ กำ� เนดิ ขนึ้ ในประเทศฝรง่ั เศสดว้ ย ในระยะแรกภาพยนตรถ์ กู มองวา่ เปน็
งานศลิ ปะ เอกสารชนิ้ แรกๆ เกย่ี วกบั เรอื่ งนเ้ี ขยี นขนึ้ ราวปี 1910 โดยผสู้ รา้ งภาพยนตรช์ อ่ื หลยุ ส์ โฟอลิ เลด์
(Louis Feuillade) ซึ่งแสดงความเห็นว่าภาพยนตร์ใหค้ วามร้สู ึกทางสุนทรียภาพเชน่ เดยี วกับภาพเขยี น
และละคร เขายังมองด้วยว่าภาพยนตร์เป็นทั้งศิลปะประชาชนนิยม (popular art) และศิลปะเศรษฐกิจ
(economic art) ท่ีท�ำงานรว่ มกันระหวา่ งเทคโนโลยีและสุนทรยี ศาสตร์ และยังเปน็ เศรษฐศิลป์ (artistic
economy) หรอื ศิลปะท่ีเกีย่ วพนั ใกลช้ ดิ กับระบบทุนอีกด้วย

       ในปตี ่อมา ริคซโิ อตโต คานโู ด (Ricciotto Canudo) พมิ พเ์ อกสารข้นึ ที่ฝร่ังเศสช่ือ The Birth
of a Sixth Art ซ่ึงได้วางแนวทางส�ำคัญ 2 แนวทางอันน�ำไปสู่การถกเถียงเกี่ยวกับความเป็นจริงของ
ภาพยนตร์แนวทางหนึ่ง และรูปแบบกับจังหวะของภาพยนตร์อีกแนวทางหน่ึง (Hayward, 1996, pp.
380-381)

       ค.ศ. 1916 กวแี ละนกั ทฤษฎีชาวอมริกนั ช่อื วาเชล ลินดซ์ ยี ์ (Vachel Lindsey) ก็แสดงความเห็น
เกี่ยวกับศลิ ปะของภาพเคลือ่ นไหวไว้ในหนังสอื The Art of the Moving Picture ของเขา ซง่ึ ได้เปน็
แนวทางในการวิจารณ์ภาพยนตร์ในเชิงศิลปะในเวลาต่อมา ปีเดียวกันน้ี ฮูโก มุนสเตอร์เบิร์ก (Hugo
Munsterberg) นกั ปรชั ญาและนกั จติ วทิ ยาชาวเยอรมนั แหง่ สำ� นกั จติ วทิ ยาเกสตลั ต์ (The Gestalt School
of Psychology) ซงึ่ ใหค้ ุณค่าทางสนุ ทรยี ศาสตร์ทีแ่ บบรปู (pattern) (โกสุม สายใจ, 2542, น. 19-20)
ไดต้ พี ิมพ์หนังสือเผยแพร่ความคิดและความสนใจของเขาเก่ียวกับการรับรู้ภาพยนตรข์ องผู้ชม โดยเฉพาะ
ความสมั พันธร์ ะหวา่ งธรรมชาตแิ ละโครงสร้างของภาพยนตรก์ บั จติ มนษุ ย์ในหนงั สอื ชื่อ The Photoplay:
A Psychological Study ซ่ึงเป็นการศึกษาภาพยนตร์ในแนวจิตวิทยาตามที่เขาถนัด ต�ำราบางเล่มยัง
ยกยอ่ งให้เขาเปน็ นักทฤษฎีภาพยนตรค์ นแรกอกี ด้วย (Neupert, 1994, pp. 183-189) จึงขอขยายความ
ความคดิ ของมนุ สเตอร์เบริ ก์ ดังต่อไปน้ี
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21