Page 19 - ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์
P. 19
ทฤษฎีภาพยนตรพ์ นื้ ฐาน 2-9
ตดิ ตามถา่ ยตวั ละครกอ็ าจสรา้ งความรสู้ กึ โกรธแคน้ หรอื เกลยี ดชงั หรอื หวาดกลวั ใหแ้ กค่ นดไู ด้ โดยทตี่ วั ละคร
ตวั นน้ั ไมร่ เู้ รอื่ งรรู้ าวดว้ ย บางเวลากลอ้ งยงั สามารถจบั อารมณภ์ ายในของตวั ละครออกมาใหป้ รากฏเหน็ ได้
ด้วยเช่นกนั (Munsterberg, 1970, pp. 1-56)
กิจกรรม 2.1.1
1. ทฤษฎีภาพยนตร์มีความสัมพันธก์ บั การสรา้ งภาพยนตร์อย่างไร
2. ทฤษฎภี าพยนตร์มีตน้ ก�ำเนดิ มาอย่างไร
แนวตอบกิจกรรม 2.1.1
1. เมอื่ เกดิ การสรา้ งภาพยนตรใ์ นรูปแบบตา่ งๆ จึงมผี สู้ ังเกตวเิ คราะห์ลกั ษณะงานภาพยนตร์จน
เกดิ เป็นทฤษฎีภาพยนตร์ข้นึ
2. เร่ิมเกิดจากแนวคิดที่ว่าภาพยนตร์เป็นงานศิลปะแนวหนึ่ง และภาพยนตร์เก่ียวข้องกับความ
เป็นจริงอกี แนวหนึง่ ตลอดจนเห็นวา่ ภาพยนตร์มีความสมั พนั ธ์กับจิตวทิ ยาการรับรขู้ องผูช้ ม
เรื่องท่ี 2.1.2
ความส�ำคัญของทฤษฎีภาพยนตร์
เปน็ ทเ่ี ขา้ ใจกนั โดยทวั่ ไปวา่ ทฤษฎเี ปน็ วธิ กี ารหนงึ่ ของนกั วทิ ยาศาสตรท์ ตี่ อ้ งการอธบิ ายปรากฏ-
การณใ์ ดๆ อนั หนง่ึ โดยตัง้ ขอ้ สมมติฐานขน้ึ ก่อน เมอื่ มีเหตผุ ลดีแล้ว ขอ้ สมมตฐิ านน้ีกจ็ ะกลายเปน็ ทฤษฎี
มขี ้อพิสจู นต์ ่างๆ สนับสนนุ ดงั ปรากฏในคณติ ศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (จรญู มลิ นิ ท์, 2505, น. 582)
พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542 ใหค้ ำ� จ�ำกดั ความของคำ� ว่า “ทฤษฎี” ว่าหมาย
ถงึ ความเห็น การเหน็ การเหน็ ดว้ ยใจ ลักษณะท่ีคิดคาดเอาตามหลกั วิชา เพอ่ื เสริมเหตุผลและรากฐาน
ใหแ้ กป่ รากฏการณห์ รอื ขอ้ มลู ในภาคปฏบิ ตั ซิ งึ่ เกดิ ขน้ึ อยา่ งมรี ะเบยี บ (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2544, น. 504-
505) ซึ่งปรากฏการณ์ดังกล่าวครอบคลุมท้ังในด้านวิทยาศาสตร์และศิลปะ (Merriam Webster, 1991,
p. 1223) ทฤษฎจี งึ มคี วามสำ� คญั ต่อการศึกษาปรากฏการณ์ต่างๆ อย่างมเี หตุมีผลเพื่อชน้ี ำ� ให้เกิดปญั ญา
ความคดิ อนั กว้างขวางลึกซ้ึงต่อไป
ผทู้ จ่ี ะอธบิ ายใหเ้ หน็ วา่ ทฤษฎภี าพยนตรม์ คี วามสำ� คญั อยา่ งไรไดด้ ที สี่ ดุ กค็ อื เบล่า บาลาซส์ (Bela
Balazs) ชางฮังกาเรียน ซ่ึงนอกจากจะเป็นนักทฤษฎีภาพยนตร์ช้ันน�ำแล้วยังเป็นผู้ก�ำกับภาพยนตร์