Page 18 - ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์
P. 18

2-8 ทฤษฎแี ละการวิจารณภ์ าพยนตร์
ภาพคล้ายกันในเวลาเดียวกันที่ผิวหน้าจอและทะลุผิวหน้าจอเข้าไปคล้ายกับที่เรามองตัวเราในกระจกเงา
ระยะทางในภาพยนตร์ไมใ่ ชร่ ะยะทางจรงิ ภาวะจติ ของเราตา่ งหากท่ีสร้างภาพจริงข้นึ มา

       ในสว่ นของการเคลอ่ื นไหวนนั้ มนุ สเตอรเ์ บริ ก์ ไดแ้ สดงผลงานวจิ ยั เกย่ี วกบั การเห็นติดตา (persis-
tent of vision) วา่ การเคลอื่ นไหวของภาพเคลอ่ื นไหวไมใ่ ชป่ รากฏการณข์ องการเหน็ ตดิ ตา แตเ่ ปน็ กจิ กรรม
พิเศษของจิตใจทีเดียว จิตสร้างการมองเห็นและการเคล่ือนไหวที่อาจไม่มีอยู่จริง ตัวอย่างเช่น ขณะที่
เรานั่งอยู่ในรถไฟซ่ึงจอดอยู่ที่สถานีแล้วมองออกไปนอกหน้าต่าง ทันใดเราอาจเช่ือว่ารถไฟที่เรานั่งก�ำลัง
แล่นทั้งทใี่ นความจรงิ เปน็ รถไฟขบวนอ่ืนตา่ งหากที่กำ� ลังเคลือ่ นผา่ นสายตาเรา เหมอื นกับเม่อื เรามองเห็น
ดวงจนั ทรล์ อยผ่านก้อนเมฆทีเ่ รารู้สกึ ว่าอยูน่ ิ่งๆ ไปอย่างรวดเร็ว เรามีแนวโน้มทจ่ี ะเห็นตามทค่ี ิด ว่าสิ่งใด
หยุดอยู่กับที่ไม่เคล่ือนไหว และตีความการเคล่ือนไหวท่ีมองเห็นว่า เป็นการเคล่ือนไหวของสิ่งอื่นที่เรา
ไมไ่ ด้ก�ำหนดในใจว่ามันหยุดนง่ิ

       เมอ่ื เกดิ ความตง้ั ใจตอ่ สง่ิ ใด เราจะตดั สว่ นอน่ื ๆ ทเ่ี ราไมส่ นใจออกไป ซง่ึ มนุ สเตอรเ์ บริ ก์ นำ� มาอธบิ าย
กับการชมละครเวทีและภาพยนตร์ และเปรียบเทียบให้เห็นว่าการจ้องดูภาพยนตร์แตกต่างจากการจ้องดู
ละครบนเวที กลา่ วคอื ขณะที่เราชมละครสายตาของเราจะมองกราดไปท่ตี ัวละคร แสง ฉาก และสง่ิ ต่างๆ
บนเวที บางคร้ังก็คอยจับตามองการแสดงของตัวละครแต่ละตัวไปมาไม่สนใจส่ิงรอบข้าง แต่ส�ำหรับ
ภาพยนตรเ์ ราจะมองพงุ่ ตรงไปทจี่ ดุ ใกลก้ ง่ึ กลางจอและจดจอ้ งอยตู่ รงบรเิ วณนนั้ ซง่ึ ทำ� ใหเ้ ราเหน็ ภาพบนจอ
ท้ังหมดในการมองครง้ั เดยี ว ไม่ต้องกวาดตามองไปมาหากมองอยู่กบั ทีเ่ ทา่ นัน้ กล้องจะจับภาพต่างๆ มา
ใหเ้ ราเหน็ เอง โดยเฉพาะภาพระยะใกล้ (close-up) จะใหค้ ำ� อธบิ ายและทำ� ใหเ้ ราเกดิ ความตงั้ ใจทจี่ ะตดิ ตาม
ดูมากข้ึน เช่น ในฉากท่ีชายผู้หนึ่งควักผ้าเช็ดหน้าออกมาจากกระเป๋า แล้วมีกระดาษชิ้นเล็กๆ หล่นลงท่ี
พน้ื โดยเขาไม่รู้ ผู้ชมในโรงละครยอ่ มไม่สามารถสังเกตเหน็ ได้จงึ ไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ ความตงั้ ใจเท่าท่คี วร แต่หาก
นำ� เสนอในภาพยนตรเ์ ราจะเหน็ กระดาษชนิ้ เลก็ ๆ ทพ่ี นื้ อยา่ งถนดั ถนดี่ ว้ ยมมุ ภาพระยะใกล้ แลว้ ยงั ไดร้ ดู้ ว้ ย
ว่ามนั เป็นต๋ัวจากสถานีรถไฟท่ีเกดิ คดอี าชญากรรม ความตง้ั ใจของเราพุง่ ตรงมาที่นี่และเตรียมการสำ� หรับ
เรือ่ งราวทจี่ ะด�ำเนนิ ตอ่ ไป

       เรื่องเล่าในภาพยนตร์เป็นรูปเป็นร่างขึ้นด้วยการท�ำงานของจิตใจเราด้านความจ�ำและจินตนาการ
ความจ�ำมองกลับไปสู่อดีต ส่วนจินตนาการมองไปยังอนาคต ผู้สร้างภาพยนตร์น�ำเราเข้าไปใกล้ส่ิงต่างๆ
ดว้ ยภาพระยะใกล้ และพาออกไปหา่ งไกลโดยเทคนคิ ภาพระยะไกล แลว้ ยงั สามารถพาขา้ มเวลาไดอ้ กี ดว้ ย
ภาพยนตร์สามารถเปล่ียนจากฉากปัจจุบันไปเป็นฉากอดีต กลับไปยังฉากก่อนหน้าน้ีหรือไปยังเวลาก่อน
ที่จะเกิดเหตุการณ์ปัจจุบันหรือไปยังอนาคต ซ่ึงเราก็ต้องจ�ำฉากต่างๆ ต่อเนื่องกันได้ด้วย ภาพยนตร์
พาคนดเู ดนิ ทางผา่ นเวลาและระยะทางในชว่ั แวบ เหมอื นกบั จนิ ตนาการของเราทม่ี คี วามคดิ เคลอ่ื นไหวไปมา
อย่เู สมอ ซ่ึงในใจของเราก็มที ง้ั เรือ่ งอดตี และอนาคตปนกับปัจจบุ นั

       จุดประสงค์หลักของภาพยนตร์ก็คือการท�ำให้เกิดอารมณ์แก่คนดูโดยการใช้เทคนิคทาง
ภาพยนตร์ (filmic techniques) ไม่ว่าจะเป็นการตัดต่อ การเคลื่อนไหวกล้อง การวางมุมกล้อง การจัด
ต�ำแหน่งตัวละคร การจัดฉาก และอื่น ๆ แลว้ กย็ งั ตอ้ งจดั การใหต้ วั ละครแสดงความรสู้ กึ ออกมาเพอื่ ใหเ้ กดิ
ความประทับใจเข้าไปในจิตส�ำนึกของคนดูหล่อหลอมเป็นอารมณ์ ดังเช่นในภาพยนตร์เพลง กล้องท่ีไหล
เลอ่ื นตามลลี าเตน้ รำ� สามารถสรา้ งความรสู้ กึ รา่ เรงิ รน่ื รมยไ์ ดอ้ ยา่ งมาก และในบางสถานการณก์ ารนำ� กลอ้ ง
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23