Page 21 - ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์
P. 21

ทฤษฎภี าพยนตรพ์ นื้ ฐาน 2-11
คนหลายลา้ นคนไดย้ นิ ไดฟ้ งั เรอื่ งสนุ ทรยี ศาสตรท์ างวรรณคดแี ละการเขยี นภาพแตก่ ลบั ไมไ่ ดใ้ ชค้ วามรเู้ หลา่ น้ี
เพราะพวกเขาไมอ่ า่ นหนงั สอื และไมด่ ภู าพเขยี น ทวา่ คนหลายลา้ นคนทไ่ี ดด้ ภู าพยนตรบ์ อ่ ยๆ กลบั ไมม่ ใี คร
แนะน�ำให้พวกเขาเขา้ ถึงศลิ ปะภาพยนตร์เลย จนกระทงั่ ในปี ค.ศ. 1947 ผู้สร้างภาพยนตร์จึงได้รบั การคดั
เลอื กเขา้ ไปนงั่ ในสถาบนั ศลิ ปะของฝรงั่ เศสเปน็ ครงั้ แรก และสถาบันทางศิลปะแห่งแรกที่บรรจุวิชาทฤษฎี
ภาพยนตร์ไว้ในหลักสูตรได้เปิดขึ้นเป็นคร้ังแรกที่กรุงปร๊าค (Prague) ในปเี ดียวกนั น้ี

       ศลิ ปะทำ� ใหร้ สนยิ มของสาธารณชนดขี น้ึ และรสนยิ มทดี่ ขี นึ้ ของสาธารณชนกส็ ามารถพฒั นาศลิ ปะ
ไปสรู่ ะดบั ที่สงู ขน้ึ ได้ โดยเฉพาะสำ� หรบั ภาพยนตรน์ ั้นคุณค่าของภาพยนตร์อยู่ท่คี วามสามารถของเราทจ่ี ะ
มองเห็นมัน ไม่เหมือนศิลปะแขนงอ่ืนๆ ท่ีศิลปินอาจจะสร้างงานที่ย่ิงใหญ่ข้ึนมา เช่น ภาพวาด เพลง
วรรณกรรม แล้วยังไม่เป็นท่ีชื่นชมจนกระทั่งเขาตายไป คนรุ่นหลังท่ีมีความเข้าใจในระดับท่ีสูงขึ้นจึงจะ
ชื่นชมได้ในภายหลัง ผลงานของศลิ ปินผู้น้ันก็ยงั คงอยู่ เทา่ กบั ผลงานศิลปะเกิดขนึ้ กอ่ นผเู้ สพ ตรงกันข้าม
กับศิลปะภาพยนตร์ท่ีคนดูจะต้องเกิดข้ึนก่อนตัวภาพยนตร์ มีความชื่นชมต่อภาพยนตร์แต่ละเร่ืองที่จะ
ก�ำเนิดข้ึนมาก่อน อนั เปน็ ส่งิ ทผ่ี ้สู รา้ งภาพยนตรต์ ้องการเป็นหลกั ประกัน โดยความช่นื ชมน้มี ิใชเ่ ป็นเพยี ง
ความพงึ พอใจเท่านั้น แต่ต้องเป็นความช่ืนชมที่เป็นแรงบันดาลใจ สนับสนุน และสร้างสรรค์

       ภาพยนตรเ์ ปน็ ผลผลติ ของอตุ สาหกรรมขนาดใหญ่ มรี าคาแพง และมกี ารสรา้ งสรรคร์ ว่ มกนั อยา่ ง
สลบั ซับซ้อนเกินกวา่ ทจ่ี ะมีใครสร้างงานช้นั ครขู ึ้นมาได้ทา่ มกลางการต่อต้านของรสนิยมหรืออคติ สมาชกิ
ของสโมสรภาพยนตร์ต่างๆ ท�ำหน้าที่เป็นสาธารณชนในสายตาของผู้สร้างภาพยนตร์ และเป็นพลังที่
สนับสนุนผู้สร้างภาพยนตร์ให้มีความกล้าหาญท่ีจะลองท�ำสิ่งใหม่และดี สาธารณชนจึงมีความรับผิด
ชอบในการพัฒนาศิลปะของภาพยนตร์ด้วยส่วนหนึ่ง ซ่ึงในท่ีสุดจิตส�ำนึกต่อความรับผิดชอบนี้หรืออีก
นัยหน่ึง “จิตส�ำนึกทางภาพยนตร์” ก็จะคอ่ ยๆ แพร่กระจายออกไป

       พวกนกั วจิ ารณเ์ หน็ วา่ ศลิ ปะภาพยนตรเ์ พง่ิ อยใู่ นระยะกอ่ ตวั และรอทจี่ ะหาขอ้ สรปุ จากภาพยนตร์
คลาสสกิ คำ� ถามกค็ อื พวกเขาจะมองเหน็ ผลงานเหลา่ นนั้ ไดอ้ ยา่ งไร ถา้ ไมเ่ ขา้ ใจในทฤษฎหี รอื สนุ ทรยี ศาสตร์
ของภาพยนตร์ พวกเขาจะหามาตรฐานหรือหลักการประเมินเพื่ออธิบายคุณลักษณะของภาพยนตร์เร่ือง
หนงึ่ ๆ มาจากไหน

       ทฤษฎที จ่ี ะพฒั นาศลิ ปะภาพยนตรจ์ ะตอ้ งเปน็ ทฤษฎแี นวรเิ รม่ิ ทช่ี ไ้ี ปสอู่ นาคตทยี่ งั ไมม่ ใี ครรจู้ กั เปน็
แรงบนั ดาลใจใหพ้ ลงั และจนิ ตนาการแกผ่ สู้ รา้ งสรรคศ์ ลิ ปะใหมๆ่ ในอนาคตตอ่ ไป ไมใ่ ชท่ ฤษฎที ร่ี วบรวมขอ้
สรปุ ต่างๆ ที่มมี ากอ่ นหน้าน้ี ความเช่ือและคุณค่าเกี่ยวกับวัฒนธรรมของศิลปะเก่าแก่เป็นอุปสรรคใหญ่
หลวงของการพัฒนาศิลปะภาพยนตร์ในยุโรป บรรดาหลักการเก่า ๆ ซึ่งใช้ไม่ได้กับศิลปะภาพยนตร์ได้
ท�ำลายหลักการใหม่ ๆ ต้ังแต่เริ่มก�ำเนิด

       เบลา่ บาลาซส์ กลา่ วอกี วา่ ภาพยนตรเ์ ปน็ ศลิ ปะแขนงเดยี วทเ่ี รารวู้ นั เกดิ ของมนั นกั สนุ ทรยี ศาสตร์
นักประวตั ิศาสตร์ศลิ ปะ นกั จติ วทิ ยา และนักวิชาการตา่ งก็มีโอกาสท่จี ะเฝา้ ดูภาพยนตรก์ ่อก�ำเนิด ในขณะ
ที่จุดเร่ิมต้นของศิลปะอื่นๆ ไม่เป็นที่รับรู้ว่าเกิดข้ึนเมื่อใด อย่างไร ท�ำไมจึงมีรูปแบบนั้นๆ ทั้งยังไม่รู้ถึง
เงอ่ื นไขทางสงั คมและเศรษฐกิจที่แวดล้อมจดุ ก�ำเนดิ แม้กระท่งั จติ ส�ำนึกของมนุษยผ์ ้ใู หก้ ำ� เนดิ อีกดว้ ย นัก
วชิ าการกเ็ พยี งแตต่ ง้ั ขอ้ สมมตฐิ าน แตส่ ำ� หรบั ศลิ ปะภาพยนตรท์ ก่ี ำ� เนดิ ขนึ้ มาไมน่ านนน้ี กั วชิ าการไดท้ ำ� การ
วจิ ัยหรอื ไม่ ได้สังเกตแบบช่วั โมงต่อชวั่ โมงแล้วบันทกึ การกอ่ ตวั ขนึ้ และพฒั นาการของมนั บ้างหรอื ไม่ ตา่ ง
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26