Page 26 - ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์
P. 26
2-16 ทฤษฎีและการวิจารณภ์ าพยนตร์
เท่านั้น ผู้สร้างภาพยนตร์ควรมีบทบาทเป็นผู้แปล (interpreter) และผู้ถ่ายทอด (transformer) ความ
เปน็ จริงทางกายภาพผา่ นกระบวนการทางการประกอบภาพ การจัดแสง มุมกลอ้ ง และอน่ื ๆ มากกว่าเปน็
ผู้บันทกึ เหตกุ ารณธ์ รรมดาๆ (Stromgren, 1984, p. 246)
ในฐานะทเี่ ปน็ นกั จติ วทิ ยา แนวคดิ ของอารน์ ไฮมจ์ งึ คอ่ นขา้ งเกยี่ วขอ้ งกบั การรบั รขู้ องประสบการณ์
(perception of experience) และทฤษฎีของเขาก็เก่ียวเนื่องกับความต่างกันระหว่างการรับรู้ของกล้อง
(perception of the camera) กบั สายตามนษุ ย์ (human eye) ตวั อยา่ งเชน่ ภาพจานผลไมท้ ถี่ า่ ยจาก
กล้องย่อมต่างจากภาพจานผลไม้ท่ีเรามองเห็นจริงๆ อาร์นไฮม์ยังยกตัวอย่างอีกหลายประการท่ีแสดงว่า
ภาพที่เห็นด้วยตานั้นแตกต่างจากภาพที่กล้องบันทึกไว้ เป็นต้นว่าผู้ก�ำกับภาพยนตร์จะเลือกมุมส�ำหรับ
ถ่ายภาพโดยไม่จ�ำเป็นต้องเลือกมุมท่ีเห็นชัดที่สุดหากไม่ต้องการเน้นลักษณะเด่นของส่ิงที่ถ่ายนั้น แต่ถ้า
จะเนน้ สง่ิ ใด เช่น ใหเ้ หน็ ความมอี �ำนาจของคน กจ็ ะต้งั กล้องถ่ายภาพจากมุมตำ�่ (low angle) ไมใ่ ช่ถ่าย
ทใี่ บหนา้ ของเขาแมจ้ ะเปน็ มมุ ทเี่ หน็ ชดั เจนทส่ี ดุ เพราะจะไมเ่ กดิ ความรสู้ กึ วา่ บคุ คลนน้ั มอี ำ� นาจ หรอื บางที
ผู้ก�ำกับต้องการจับความสนใจของคนดู ก็อาจถ่ายภาพจากมุมที่แตกต่างไปจากปกติ เช่น ถ่ายจาก
เฮลคิ อปเตอร์ลงมาก็ได้ เป็นต้น
ในชีวิตจริงเราเห็นส่ิงต่างๆ ในความลึก และสามารถมองทะลุผ่านบรรยากาศรอบตัวได้ แต่ใน
ภาพยนตรบ์ รรยากาศทวี่ า่ นเี้ ปน็ เพยี งภาพลวงตา ทงั้ นเ้ี พราะจอภาพยนตรม์ เี พยี งสองมติ ิ ซง่ึ ทำ� ใหผ้ กู้ ำ� กบั
ตอ้ งจดั วางวตั ถแุ ละมมุ มองใหบ้ งั เกดิ ผลทางศลิ ปะขน้ึ มา เชน่ จดั ใหส้ ง่ิ ทม่ี คี วามสำ� คญั อยใู่ นตำ� แหนง่ ทสี่ งั เกต
เหน็ ไดก้ อ่ น สว่ นสงิ่ ทไี่ มค่ อ่ ยสำ� คญั กจ็ ดั ใหอ้ ยดู่ า้ นในๆ ถดั ไปทางรมิ จอหรอื ทางดา้ นหลงั เปน็ ตน้ การทำ� ให้
เกดิ ผลพเิ ศษทางภาพตา่ งๆ ชว่ ยสรา้ งภาพทอ่ี ยนู่ อกกรอบภาพหรอื เกนิ กวา่ ทสี่ ายตาของเราจะมองเหน็ ได้
เชน่ ภาพทเี่ กิดจากการถอยกล้อง (pull-back dolly) ตวั กรอบภาพ (frame) ไดจ้ �ำกดั ขอบเขตของการ
มองเห็นในภาพยนตร์ แต่ในชีวติ จรงิ การมองสิง่ ตา่ งๆ จะไมเ่ ป็นเช่นน้ี
เนอื่ งจากเลนสข์ องกลอ้ งไมอ่ าจปรบั ความรสู้ กึ ทางจติ วทิ ยาได้ ไมว่ า่ จะเปน็ ขนาด (size) หรอื ระยะ
ทาง (distance) นั่นคือ ภาพท่ถี า่ ยผา่ นเลนสข์ องกลอ้ งลงไปบันทกึ ลงบนฟิลม์ นั้นย่อมต่างจากภาพทม่ี อง
ผ่านตาลงไปบันทึกในจติ ใจของเรา เช่น เราเห็นชายคนหนึ่งยนื อยู่ไกลๆ ตวั เล็กนิดเดยี ว เม่อื เปรยี บเทยี บ
กบั ขวดเหลา้ ทว่ี างอยตู่ รงหนา้ เรา แตค่ วามรสู้ กึ ทางจติ วทิ ยาจะบอกเราวา่ ชายคนนนั้ รปู รา่ งใหญก่ วา่ ขวดเหลา้
แต่กล้องไม่อาจปรับความร้สู กึ เช่นนี้ได้ ผูก้ ำ� กบั ต้องจัดการวางองคป์ ระกอบตา่ งๆ ใหเ้ กิดความสัมพันธก์ ัน
ข้ึนมา ดังในท่ีน้ีหากต้องการให้เห็นขวดเหล้ามีความส�ำคัญกว่าตัวผู้ชายก็วางขวดเหล้าไว้ใกล้กล้อง ก็จะ
ไดภ้ าพของขวดเหล้าท่ดี ใู หญก่ ว่าผู้ชายคนน้นั ซึง่ ยืนอย่ใู นระยะไกล
อารน์ ไฮมย์ งั ไดก้ ลา่ วถงึ การใหแ้ สง (lighting) ในภาพยนตรว์ า่ ใชไ้ ดม้ ากกวา่ การใหเ้ พยี งแคค่ วาม
สว่าง แสงสามารถใช้เป็นสัญลักษณ์ถ่ายทอดความหมายต่างๆ ใช้เน้นให้เห็นหรือปิดบังรายละเอียดบาง
อยา่ งและใชช้ กั นำ� ความสนใจของผชู้ มไปยงั สว่ นใดสว่ นหนงึ่ บนจอภาพยนตรไ์ ดส้ ำ� หรบั เสยี ง (sound) และ
สี (color) ก็มิใช่เพียงแต่จะใช้เพ่ือเสริมสร้างความสมจริงให้แก่ภาพเท่าน้ัน แต่ท้ังเสียงและสียังอาจใช้
ถ่ายทอดความหมายของบุคลิกลักษณะอนั สำ� คญั ต่างๆ อีกดว้ ย
ในโลกของความเป็นจริงนั้น พื้นที่ (space) และเวลา (time) ถือเป็นปรากฏการณ์ที่ต่อเนื่อง
(continuous phenomena) แต่ในโลกภาพยนตร์ ผู้สร้างภาพยนตร์ได้ตัดต่อสับซอยปรากฏการณ์ท่ี